วันอังคารที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2556

ประวัติฟุตบอลและกติกา

ประวัติฟุตบอลในประเทศไทย

 
กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย ได้มีการเล่นตั้งแต่สมัย "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสิทร์ เนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ได้ส่งพระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าหลานยาเธอ และข้าราชบริพารไปศึกษาวิชาการด้านต่างๆ ที่ประเทศอังกฤษ และผู้ที่นำกีฬาฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเป็นคนแรกคือ "เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)" หรือ ที่ประชนชาวไทยมักเรียกชื่อสั้นๆว่า "ครูเทพ" ซึ่งท่านได้แต่งเพลงกราวกีฬาที่พร้อมไปด้วยเรื่องน้ำใจนักกีฬาอย่างแท้จริง เชื่อกันว่าเพลงกราวกีฬาที่ครูเทพแต่งไว้นี้จะต้องเป็น "เพลงอมตะ" และจะต้องคงอยู่คู่ฟ้าไทย

เมื่อปี พ.ศ. 2454-2458 ท่านได้ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งแรก เมื่อท่านได้นำฟุตบอลเข้ามาเล่นในประเทศไทยได้มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆมากมาย โดยหลายคนกล่าวว่า ฟุตบอลเป็นกีฬาที่ไม่เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศร้อน เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศหนาวมากกว่า และเป็นเกมที่ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้เล่นและผู้ชมได้ง่าย ซึ่งข้อวิจารณ์ดังกล่าวถ้ามองอย่างผิวเผินอาจคล้อยตามได้ แต่ภายหลังข้อกล่าวหาดังกล่าวก็ได้ค่อยหมดไปจนกระทั่งกลายเป็น กีฬายอดนิยมที่สุดของประชาชนชาวไทยและชาวโลกทั่วทุกมุมโลก ซึ่งมีวิวัฒนาการดังกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลต่อไปนี้
 
  • พ.ศ. 2440 รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จนิวัติพระนคร กีฬาฟุตบอลได้รับความสนใจมากขึ้นจากบรรดาข้าราชการบรรดาครูอาจารย์ ตลอดจนชาวอังกฤษในประเทศไทยและผู้สนใจชาวไทยจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ กอร์ปกับครูเทพท่านได้เพียรพยายามปลูกฝังการเล่นฟุตบอลในโรงเรียนอย่างจริงจังและแพร่หลายมากในโอกาสต่อมา
  • พ.ศ. 2443 (รศ. 119) การแข่งขันฟุตบอลเป็นทางการครั้งแรกของไทยได้เกิดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (รศ. 119) ณ สนามหลวง ซึ่งเป็นสถานที่ออกกำลังกายและประกอบงานพิธีต่างๆการแข่งขันฟุตบอลคู่ประวัติศาสตร์ของไทย ระหว่าง "ชุดบางกอก" กับ "ชุดกรมศึกษาธิการ" จากกระทรวงธรรมการหรือเรียกชื่อการแข่งขันครั้งนี้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลตามข้อบังคับของแอสโซซิเอชั่น" เพราะสมัยก่อนเรียกว่า "แอสโซซิเอชั่นฟุตบอล" (ASSOCIATIONS FOOTBALL) สมัยปัจจุบันอาจเรียกได้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลของสมาคม" หรือ "ฟุตบอลสมาคม" ผลการแข่งขันฟุตบอลนัดพิเศษดังกล่าวปรากฏว่า "ชุดกรมศึกษาธิการ" เสมอกับ "ชุดบางกอก" 2-2 (ครึ่งแรก 1-0) ต่อมาครูเทพท่านได้วางแผนการจัดการแข่งขันฟุตบอลนักเรียนอย่างเป็นทางการพร้อมแปลกติกาฟุตบอลแบบสากลมาใช้ในการแข่งขันฟุตบอลนักเรียนครั้งนี้ด้วย
  • พ.ศ. 2444 (รศ. 120) หนังสือวิทยาจารย์ เล่มที่ 1 ตอนที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2444 ได้ตีพิมพ์เผยแพร่เรื่องกติกาการแข่งขันฟุตบอลสากลและการแข่งขันอย่างเป็นแบบแผนสากล
    การแข่งขันฟุตบอลนักเรียนครั้งแรกของประเทศไทยได้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2444 นี้ ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนชายอายุไม่เกิน 20 ปี ใช้วิธีจัดการแข่งขันแบบน็อกเอาต์ หรือแบบแพ้คัดออก (KNOCKOUT OR ELIMINATIONS) ภายใต้การดำเนินการจัดการแข่งขันของ "กรมศึกษาธิการ" สำหรับทีมชนะเลิศติดต่อกัน 3 ปี จะได้รับโล่รางวัลเป็นกรรมสิทธิ์
  • พ.ศ. 2448 (รศ. 124) เดือนพฤศจิกายน สามัคยาจารย์ สมาคม ได้เกิดขึ้นครั้งแรกเป็นการแข่งขันฟุตบอลของบรรดาครูและสมาชิกครู โดยใช้ชื่อว่า "ฟุตบอลสามัคยาจารย์"
  • พ.ศ. 2450-2452 (รศ. 126-128) ผู้ตัดสินฟุตบอลชาวอังชื่อ "มร.อี.เอส.สมิธ" อดีตนักฟุตบอลอาชีพได้มาทำการตัดสินในประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี ทำให้คนไทยโดยเฉพาะครู-อาจารย์ และผู้สนใจได้เรียนรู้กติกาและสิ่งใหม่ๆเพิ่มขึ้นมาก
  • พ.ศ. 2451 (รศ. 127) มีการจัดการแข่งขัน "เตะฟุตบอลไกล" ครั้งแรก
  • พ.ศ. 2452 (รศ. 128) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสวรรคต เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2452 นับเป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของผู้สนับสนุนฟุตบอลไทยในยุคนั้น ซึ่งต่อมาในปีนี้ กรมศึกษาธิการก็ได้ประกาศใช้วิธีการแข่งขัน "แบบพบกันหมด" (ROUND ROBIN) แทนวิธีจัดการแข่งขันแบบแพ้คัดออกสำหรับคะแนนที่ใช้นับเป็นแบบของแคนาดา (CANADIAN SYSTEM) คือ ชนะ 2 คะแนน เสมอ 1คะแนน แพ้ 0 คะแนน และยังคงใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน
    ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงมีความสนพระทัยกีฬาฟุตบอลเป็นอย่างยิ่งถึงกับทรงกีฬาฟุตบอลเอง และทรงตั้งทีมฟุตบอลส่วนพระองค์เองชื่อทีม "เสือป่า" และได้เสด็จพระราช ดำเนินประทับทอดพระเนตรการแข่งขันฟุตบอลเป็นพระราชกิจวัตรเสมอมา โดยเฉพาะมวยไทยพระองค์ทรงเคย ปลอมพระองค์เป็นสามัญชนขึ้นต่อยมวยไทยจนได้ฉายาว่า "พระเจ้าเสือป่า" พระองค์ท่านทรงพระปรีชาสามารถมาก จนเป็นที่ยกย่องของพสกนิกรทั่วไปจนตราบเท่าทุกวันนี้
    จากพระราชกิจวัตรของพระองค์รัชกาลที่ 6 ทางด้านฟุตบอลนับได้ว่าเป็นยุคทองของไทยอย่างแท้จริงอีกทั้งยังมีการเผยแพร่ข่าวสาร หนังสือพิมพ์ และบทความต่างๆทางด้านฟุตบอลดังกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลต่อไปนี้
  • พ.ศ. 2457 (รศ. 133) พระยาโอวาทวรกิจ" (แหมผลพันชิน) หรือนามปากกา "ครูทอง" ได้เขียนบทความกีฬา "เรื่องจรรยาของผู้เล่นและผู้ดูฟุตบอล" และ "คุณพระวรเวทย์ พิสิฐ" (วรเวทย์ ศิวะศริยานนท์) ได้เขียนบทความกีฬา "เรื่องการเล่นฟุตบอล" และ "พระยาพาณิชศาสตร์วิธาน" (อู๋ พรรธนะแพทย์) ได้เขียนบทความกีฬาที่ประทับใจชาวไทยอย่างยิ่ง "เรื่องอย่าสำหรับนักเลงฟุตบอล"
  • พ.ศ. 2458 (รศ. 134) ประชาชนชาวไทยสนใจกีฬาฟุตบอลอย่างกว้างขวาง เนื่องจาก กรมศึกษาธิการได้พัฒนาวิธีการเล่น วิธีจัดการแข่งขัน การตัดสิน กติกาฟุตบอลที่สากลยอมรับ ตลอดจนระเบียบการแข่งขันที่รัดกุมยิ่งขึ้น และผู้ใหญ่ในวงการให้ความสนใจอย่างแท้จริงนับตั้งแต่พระองค์รัชกาลที่ 6 เองลงมาถึงพระบรมวงศานุวงศ์จนถึงสามัญชน และชาวต่างชาติ และในปี พ.ศ. 2458 จึงได้มีการแข่งขันฟุตบอลประเภทสโมสรครั้งแรกเป็นการชิงถ้วยพระราชทานและเรียกชื่อการแข่งขันฟุตบอลประเภทนี้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลถ้วยทองของหลวง" การแข่งขันฟุตบอลสโมสรนี้เป็นการแข่งขันระหว่าง ทหาร-ตำรวจ-เสือป่า ซึ่งผู้เล่นจะต้องมีอายุเกินกว่าระดับทีมนักเรียน นับว่าเป็นการเพิ่มประเภทการแข่งขันฟุตบอล
    ราชกรีฑาสโมสร หรือสปอร์ตคลับ นับได้ว่าเป็นสโมสรแรกของไทยและเป็นศูนย์รวมของชาวต่างประเทศในกรุงเทพฯ ซึ่งยังอยู่ในปัจจุบัน และสโมสรสปอร์ตคลับเป็นศูนย์กลางของกีฬาหลายประเภท โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลได้มีผู้เล่นระดับชาติจากประเทศอังกฤษมาเข้าร่วมทีมอยู่หลายคน เช่น มร.เอ.พี.โคลปี. อาจารย์โรงเรียนราชวิทยาลัย นับได้ว่าเป็นทีมฟุตบอลที่ดี มีความพร้อมมากทั้งทางด้านผู้เล่น งบประมาณและสนามแข่งขันมาตรฐาน จึงต้องเป็นเจ้าภาพให้ทีมต่างๆของไทยเรามาเยือนอยู่เสมอ ทำให้วงการฟุตบอลไทยในยุคนั้นได้พัฒนายิ่งขึ้น และรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัยโดยเสด็จมาเป็นองค์ประธานพระราชทานรางวัลเป็นพระราชกิจวัตร ทำให้ประชาชนเรียกการแข่งขันสมัยนั้นว่า "ฟุตบอลหน้าพระที่นั่ง" และระหว่างพักครึ่งเวลามีการแสดง "พวกฟุตบอลตลกหลวง" นับเป็นพิธีชื่นชอบของปวงชนชาวไทยสมัยนั้นเป็นอย่างยิ่ง และการแข่งขันฟุตบอลสโมสรครั้งแรกนี้ มีทีมสมัครเข้าร่วมแข่งขันจำนวน 12 ทีม ใช้เวลาในการแข่งขัน 46 วัน (11 ก.ย.-27 ต.ค. 2458) จำนวน 29 แมตช์ ณ สนามเสือป่า ถนนหน้าพระลาน สวนดุสิต กรุงเทพมหานคร หรือสนามหน้ากองอำนวนการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติปัจจุบันพระองค์รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการแข่งขันนับว่าฟุตบอลไทยมีระบบในการบริหารมานานนับถึง 72 ปีแล้ว
    ความเจริญก้าวหน้าของฟุตบอลภายในประเทศได้แผ่ขยายกว้างขวางทั่วประเทศไปสู่สโมสรกีฬา-ต่างจังหวัดหรือชนบทอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปภายใต้การสนับสนุนของรัชกาลที่ 6 และพระองค์ท่านทรงเล็งเห็นกาลไกลว่าควรที่ตะตั้งศูนย์กลางหรือสมาคมอย่างมีระบบแบบแผนที่ดี โดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและทรงมีพระบรมราชโองการก่อตั้ง "สโมสรคณะฟุตบอลสยาม" ขึ้นมาโดยพระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเล่นฟุตบอลเอง

    รัชกาลที่ 6 ได้ทรงมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามดังนี้คือ
    1. เพื่อให้ผู้เล่นฟุตบอลมีพลานามัยที่สมบูรณ์
    2. เพื่อก่อให้เกิดความสามัคคี
    3. เพื่อก่อให้เกิดไหวพริบ และเป็นกีฬาที่ประหยัดดี
    4. เพื่อเป็นการศึกษากลยุทธ์ในการรุกและการรับเช่นเดียวกับกองทัพทหารหาญ

    จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว นับเป็นสิ่งที่ผลักดันให้สมาคมฟุตบอลแห่งสยามดำเนินกิจการเจริญก้าวหน้ามาจนตราบถึงทุกวันนี้ ซึ่งมีกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลดังนี้
  • พ.ศ. 2458 (ร.ศ. 134) การแข่งขันระหว่างชาติครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อวันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 ณ สนามราชกรีฑาสโมสร (สนามม้าปทุมวันปัจจุบัน) ระหว่าง "ทีมชาติสยาม" กับ "ทีมราชกรีฑาสโมสร" ต่อหน้าพระที่นั่ง และมี "มร.ดักลาส โรเบิร์ตสัน" เป็นผู้ตัดสิน ซึ่งผลการแข่งขันปรากฏว่าทีมชาติสยามชนะทีมราชกรีฑาสโมสร 2-1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0) และครั้งที่ 2 เมื่อวันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็นการแข่งขันระหว่างชาตินัดที่ 2 แบบเหย้าเยือนต่า หน้าพระที่นั่ง ณ สนามเสือป่าสวนดุสิตและผลปรากฏว่า ทีมชาติสยามเสมอกับทีมราชกรีฑา สโมสร หรือทีมรวมต่างชาติ 1-1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0)


ประวัติฟุตบอล


ประวัติฟุตบอลในประเทศไทย

 
กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย ได้มีการเล่นตั้งแต่สมัย "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสิทร์ เนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ได้ส่งพระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าหลานยาเธอ และข้าราชบริพารไปศึกษาวิชาการด้านต่างๆ ที่ประเทศอังกฤษ และผู้ที่นำกีฬาฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเป็นคนแรกคือ "เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)" หรือ ที่ประชนชาวไทยมักเรียกชื่อสั้นๆว่า "ครูเทพ" ซึ่งท่านได้แต่งเพลงกราวกีฬาที่พร้อมไปด้วยเรื่องน้ำใจนักกีฬาอย่างแท้จริง เชื่อกันว่าเพลงกราวกีฬาที่ครูเทพแต่งไว้นี้จะต้องเป็น "เพลงอมตะ" และจะต้องคงอยู่คู่ฟ้าไทย

เมื่อปี พ.ศ. 2454-2458 ท่านได้ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งแรก เมื่อท่านได้นำฟุตบอลเข้ามาเล่นในประเทศไทยได้มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆมากมาย โดยหลายคนกล่าวว่า ฟุตบอลเป็นกีฬาที่ไม่เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศร้อน เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศหนาวมากกว่า และเป็นเกมที่ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้เล่นและผู้ชมได้ง่าย ซึ่งข้อวิจารณ์ดังกล่าวถ้ามองอย่างผิวเผินอาจคล้อยตามได้ แต่ภายหลังข้อกล่าวหาดังกล่าวก็ได้ค่อยหมดไปจนกระทั่งกลายเป็น กีฬายอดนิยมที่สุดของประชาชนชาวไทยและชาวโลกทั่วทุกมุมโลก ซึ่งมีวิวัฒนาการดังกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลต่อไปนี้
 
  • พ.ศ. 2440 รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จนิวัติพระนคร กีฬาฟุตบอลได้รับความสนใจมากขึ้นจากบรรดาข้าราชการบรรดาครูอาจารย์ ตลอดจนชาวอังกฤษในประเทศไทยและผู้สนใจชาวไทยจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ กอร์ปกับครูเทพท่านได้เพียรพยายามปลูกฝังการเล่นฟุตบอลในโรงเรียนอย่างจริงจังและแพร่หลายมากในโอกาสต่อมา
  • พ.ศ. 2443 (รศ. 119) การแข่งขันฟุตบอลเป็นทางการครั้งแรกของไทยได้เกิดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (รศ. 119) ณ สนามหลวง ซึ่งเป็นสถานที่ออกกำลังกายและประกอบงานพิธีต่างๆการแข่งขันฟุตบอลคู่ประวัติศาสตร์ของไทย ระหว่าง "ชุดบางกอก" กับ "ชุดกรมศึกษาธิการ" จากกระทรวงธรรมการหรือเรียกชื่อการแข่งขันครั้งนี้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลตามข้อบังคับของแอสโซซิเอชั่น" เพราะสมัยก่อนเรียกว่า "แอสโซซิเอชั่นฟุตบอล" (ASSOCIATIONS FOOTBALL) สมัยปัจจุบันอาจเรียกได้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลของสมาคม" หรือ "ฟุตบอลสมาคม" ผลการแข่งขันฟุตบอลนัดพิเศษดังกล่าวปรากฏว่า "ชุดกรมศึกษาธิการ" เสมอกับ "ชุดบางกอก" 2-2 (ครึ่งแรก 1-0) ต่อมาครูเทพท่านได้วางแผนการจัดการแข่งขันฟุตบอลนักเรียนอย่างเป็นทางการพร้อมแปลกติกาฟุตบอลแบบสากลมาใช้ในการแข่งขันฟุตบอลนักเรียนครั้งนี้ด้วย
  • พ.ศ. 2444 (รศ. 120) หนังสือวิทยาจารย์ เล่มที่ 1 ตอนที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2444 ได้ตีพิมพ์เผยแพร่เรื่องกติกาการแข่งขันฟุตบอลสากลและการแข่งขันอย่างเป็นแบบแผนสากล
    การแข่งขันฟุตบอลนักเรียนครั้งแรกของประเทศไทยได้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2444 นี้ ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนชายอายุไม่เกิน 20 ปี ใช้วิธีจัดการแข่งขันแบบน็อกเอาต์ หรือแบบแพ้คัดออก (KNOCKOUT OR ELIMINATIONS) ภายใต้การดำเนินการจัดการแข่งขันของ "กรมศึกษาธิการ" สำหรับทีมชนะเลิศติดต่อกัน 3 ปี จะได้รับโล่รางวัลเป็นกรรมสิทธิ์
  • พ.ศ. 2448 (รศ. 124) เดือนพฤศจิกายน สามัคยาจารย์ สมาคม ได้เกิดขึ้นครั้งแรกเป็นการแข่งขันฟุตบอลของบรรดาครูและสมาชิกครู โดยใช้ชื่อว่า "ฟุตบอลสามัคยาจารย์"
  • พ.ศ. 2450-2452 (รศ. 126-128) ผู้ตัดสินฟุตบอลชาวอังชื่อ "มร.อี.เอส.สมิธ" อดีตนักฟุตบอลอาชีพได้มาทำการตัดสินในประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี ทำให้คนไทยโดยเฉพาะครู-อาจารย์ และผู้สนใจได้เรียนรู้กติกาและสิ่งใหม่ๆเพิ่มขึ้นมาก
  • พ.ศ. 2451 (รศ. 127) มีการจัดการแข่งขัน "เตะฟุตบอลไกล" ครั้งแรก
  • พ.ศ. 2452 (รศ. 128) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสวรรคต เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2452 นับเป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของผู้สนับสนุนฟุตบอลไทยในยุคนั้น ซึ่งต่อมาในปีนี้ กรมศึกษาธิการก็ได้ประกาศใช้วิธีการแข่งขัน "แบบพบกันหมด" (ROUND ROBIN) แทนวิธีจัดการแข่งขันแบบแพ้คัดออกสำหรับคะแนนที่ใช้นับเป็นแบบของแคนาดา (CANADIAN SYSTEM) คือ ชนะ 2 คะแนน เสมอ 1คะแนน แพ้ 0 คะแนน และยังคงใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน
    ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงมีความสนพระทัยกีฬาฟุตบอลเป็นอย่างยิ่งถึงกับทรงกีฬาฟุตบอลเอง และทรงตั้งทีมฟุตบอลส่วนพระองค์เองชื่อทีม "เสือป่า" และได้เสด็จพระราช ดำเนินประทับทอดพระเนตรการแข่งขันฟุตบอลเป็นพระราชกิจวัตรเสมอมา โดยเฉพาะมวยไทยพระองค์ทรงเคย ปลอมพระองค์เป็นสามัญชนขึ้นต่อยมวยไทยจนได้ฉายาว่า "พระเจ้าเสือป่า" พระองค์ท่านทรงพระปรีชาสามารถมาก จนเป็นที่ยกย่องของพสกนิกรทั่วไปจนตราบเท่าทุกวันนี้
    จากพระราชกิจวัตรของพระองค์รัชกาลที่ 6 ทางด้านฟุตบอลนับได้ว่าเป็นยุคทองของไทยอย่างแท้จริงอีกทั้งยังมีการเผยแพร่ข่าวสาร หนังสือพิมพ์ และบทความต่างๆทางด้านฟุตบอลดังกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลต่อไปนี้
  • พ.ศ. 2457 (รศ. 133) พระยาโอวาทวรกิจ" (แหมผลพันชิน) หรือนามปากกา "ครูทอง" ได้เขียนบทความกีฬา "เรื่องจรรยาของผู้เล่นและผู้ดูฟุตบอล" และ "คุณพระวรเวทย์ พิสิฐ" (วรเวทย์ ศิวะศริยานนท์) ได้เขียนบทความกีฬา "เรื่องการเล่นฟุตบอล" และ "พระยาพาณิชศาสตร์วิธาน" (อู๋ พรรธนะแพทย์) ได้เขียนบทความกีฬาที่ประทับใจชาวไทยอย่างยิ่ง "เรื่องอย่าสำหรับนักเลงฟุตบอล"
  • พ.ศ. 2458 (รศ. 134) ประชาชนชาวไทยสนใจกีฬาฟุตบอลอย่างกว้างขวาง เนื่องจาก กรมศึกษาธิการได้พัฒนาวิธีการเล่น วิธีจัดการแข่งขัน การตัดสิน กติกาฟุตบอลที่สากลยอมรับ ตลอดจนระเบียบการแข่งขันที่รัดกุมยิ่งขึ้น และผู้ใหญ่ในวงการให้ความสนใจอย่างแท้จริงนับตั้งแต่พระองค์รัชกาลที่ 6 เองลงมาถึงพระบรมวงศานุวงศ์จนถึงสามัญชน และชาวต่างชาติ และในปี พ.ศ. 2458 จึงได้มีการแข่งขันฟุตบอลประเภทสโมสรครั้งแรกเป็นการชิงถ้วยพระราชทานและเรียกชื่อการแข่งขันฟุตบอลประเภทนี้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลถ้วยทองของหลวง" การแข่งขันฟุตบอลสโมสรนี้เป็นการแข่งขันระหว่าง ทหาร-ตำรวจ-เสือป่า ซึ่งผู้เล่นจะต้องมีอายุเกินกว่าระดับทีมนักเรียน นับว่าเป็นการเพิ่มประเภทการแข่งขันฟุตบอล
    ราชกรีฑาสโมสร หรือสปอร์ตคลับ นับได้ว่าเป็นสโมสรแรกของไทยและเป็นศูนย์รวมของชาวต่างประเทศในกรุงเทพฯ ซึ่งยังอยู่ในปัจจุบัน และสโมสรสปอร์ตคลับเป็นศูนย์กลางของกีฬาหลายประเภท โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลได้มีผู้เล่นระดับชาติจากประเทศอังกฤษมาเข้าร่วมทีมอยู่หลายคน เช่น มร.เอ.พี.โคลปี. อาจารย์โรงเรียนราชวิทยาลัย นับได้ว่าเป็นทีมฟุตบอลที่ดี มีความพร้อมมากทั้งทางด้านผู้เล่น งบประมาณและสนามแข่งขันมาตรฐาน จึงต้องเป็นเจ้าภาพให้ทีมต่างๆของไทยเรามาเยือนอยู่เสมอ ทำให้วงการฟุตบอลไทยในยุคนั้นได้พัฒนายิ่งขึ้น และรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัยโดยเสด็จมาเป็นองค์ประธานพระราชทานรางวัลเป็นพระราชกิจวัตร ทำให้ประชาชนเรียกการแข่งขันสมัยนั้นว่า "ฟุตบอลหน้าพระที่นั่ง" และระหว่างพักครึ่งเวลามีการแสดง "พวกฟุตบอลตลกหลวง" นับเป็นพิธีชื่นชอบของปวงชนชาวไทยสมัยนั้นเป็นอย่างยิ่ง และการแข่งขันฟุตบอลสโมสรครั้งแรกนี้ มีทีมสมัครเข้าร่วมแข่งขันจำนวน 12 ทีม ใช้เวลาในการแข่งขัน 46 วัน (11 ก.ย.-27 ต.ค. 2458) จำนวน 29 แมตช์ ณ สนามเสือป่า ถนนหน้าพระลาน สวนดุสิต กรุงเทพมหานคร หรือสนามหน้ากองอำนวนการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติปัจจุบันพระองค์รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการแข่งขันนับว่าฟุตบอลไทยมีระบบในการบริหารมานานนับถึง 72 ปีแล้ว
    ความเจริญก้าวหน้าของฟุตบอลภายในประเทศได้แผ่ขยายกว้างขวางทั่วประเทศไปสู่สโมสรกีฬา-ต่างจังหวัดหรือชนบทอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปภายใต้การสนับสนุนของรัชกาลที่ 6 และพระองค์ท่านทรงเล็งเห็นกาลไกลว่าควรที่ตะตั้งศูนย์กลางหรือสมาคมอย่างมีระบบแบบแผนที่ดี โดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและทรงมีพระบรมราชโองการก่อตั้ง "สโมสรคณะฟุตบอลสยาม" ขึ้นมาโดยพระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเล่นฟุตบอลเอง

    รัชกาลที่ 6 ได้ทรงมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามดังนี้คือ
    1. เพื่อให้ผู้เล่นฟุตบอลมีพลานามัยที่สมบูรณ์
    2. เพื่อก่อให้เกิดความสามัคคี
    3. เพื่อก่อให้เกิดไหวพริบ และเป็นกีฬาที่ประหยัดดี
    4. เพื่อเป็นการศึกษากลยุทธ์ในการรุกและการรับเช่นเดียวกับกองทัพทหารหาญ

    จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว นับเป็นสิ่งที่ผลักดันให้สมาคมฟุตบอลแห่งสยามดำเนินกิจการเจริญก้าวหน้ามาจนตราบถึงทุกวันนี้ ซึ่งมีกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลดังนี้
  • พ.ศ. 2458 (ร.ศ. 134) การแข่งขันระหว่างชาติครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อวันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 ณ สนามราชกรีฑาสโมสร (สนามม้าปทุมวันปัจจุบัน) ระหว่าง "ทีมชาติสยาม" กับ "ทีมราชกรีฑาสโมสร" ต่อหน้าพระที่นั่ง และมี "มร.ดักลาส โรเบิร์ตสัน" เป็นผู้ตัดสิน ซึ่งผลการแข่งขันปรากฏว่าทีมชาติสยามชนะทีมราชกรีฑาสโมสร 2-1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0) และครั้งที่ 2 เมื่อวันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็นการแข่งขันระหว่างชาตินัดที่ 2 แบบเหย้าเยือนต่า หน้าพระที่นั่ง ณ สนามเสือป่าสวนดุสิตและผลปรากฏว่า ทีมชาติสยามเสมอกับทีมราชกรีฑา สโมสร หรือทีมรวมต่างชาติ 1-1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0)

ประวัติฟุตบอลในประเทศไทย

 
กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย ได้มีการเล่นตั้งแต่สมัย "พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" รัชกาลที่ 5 แห่งกรุงรัตนโกสิทร์ เนื่องจากสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ได้ส่งพระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าหลานยาเธอ และข้าราชบริพารไปศึกษาวิชาการด้านต่างๆ ที่ประเทศอังกฤษ และผู้ที่นำกีฬาฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเป็นคนแรกคือ "เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)" หรือ ที่ประชนชาวไทยมักเรียกชื่อสั้นๆว่า "ครูเทพ" ซึ่งท่านได้แต่งเพลงกราวกีฬาที่พร้อมไปด้วยเรื่องน้ำใจนักกีฬาอย่างแท้จริง เชื่อกันว่าเพลงกราวกีฬาที่ครูเทพแต่งไว้นี้จะต้องเป็น "เพลงอมตะ" และจะต้องคงอยู่คู่ฟ้าไทย

เมื่อปี พ.ศ. 2454-2458 ท่านได้ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งแรก เมื่อท่านได้นำฟุตบอลเข้ามาเล่นในประเทศไทยได้มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆมากมาย โดยหลายคนกล่าวว่า ฟุตบอลเป็นกีฬาที่ไม่เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศร้อน เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศหนาวมากกว่า และเป็นเกมที่ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้เล่นและผู้ชมได้ง่าย ซึ่งข้อวิจารณ์ดังกล่าวถ้ามองอย่างผิวเผินอาจคล้อยตามได้ แต่ภายหลังข้อกล่าวหาดังกล่าวก็ได้ค่อยหมดไปจนกระทั่งกลายเป็น กีฬายอดนิยมที่สุดของประชาชนชาวไทยและชาวโลกทั่วทุกมุมโลก ซึ่งมีวิวัฒนาการดังกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลต่อไปนี้
 
  • พ.ศ. 2440 รัชกาลที่ 5 ได้เสด็จนิวัติพระนคร กีฬาฟุตบอลได้รับความสนใจมากขึ้นจากบรรดาข้าราชการบรรดาครูอาจารย์ ตลอดจนชาวอังกฤษในประเทศไทยและผู้สนใจชาวไทยจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับ กอร์ปกับครูเทพท่านได้เพียรพยายามปลูกฝังการเล่นฟุตบอลในโรงเรียนอย่างจริงจังและแพร่หลายมากในโอกาสต่อมา
  • พ.ศ. 2443 (รศ. 119) การแข่งขันฟุตบอลเป็นทางการครั้งแรกของไทยได้เกิดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2443 (รศ. 119) ณ สนามหลวง ซึ่งเป็นสถานที่ออกกำลังกายและประกอบงานพิธีต่างๆการแข่งขันฟุตบอลคู่ประวัติศาสตร์ของไทย ระหว่าง "ชุดบางกอก" กับ "ชุดกรมศึกษาธิการ" จากกระทรวงธรรมการหรือเรียกชื่อการแข่งขันครั้งนี้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลตามข้อบังคับของแอสโซซิเอชั่น" เพราะสมัยก่อนเรียกว่า "แอสโซซิเอชั่นฟุตบอล" (ASSOCIATIONS FOOTBALL) สมัยปัจจุบันอาจเรียกได้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลของสมาคม" หรือ "ฟุตบอลสมาคม" ผลการแข่งขันฟุตบอลนัดพิเศษดังกล่าวปรากฏว่า "ชุดกรมศึกษาธิการ" เสมอกับ "ชุดบางกอก" 2-2 (ครึ่งแรก 1-0) ต่อมาครูเทพท่านได้วางแผนการจัดการแข่งขันฟุตบอลนักเรียนอย่างเป็นทางการพร้อมแปลกติกาฟุตบอลแบบสากลมาใช้ในการแข่งขันฟุตบอลนักเรียนครั้งนี้ด้วย
  • พ.ศ. 2444 (รศ. 120) หนังสือวิทยาจารย์ เล่มที่ 1 ตอนที่ 7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2444 ได้ตีพิมพ์เผยแพร่เรื่องกติกาการแข่งขันฟุตบอลสากลและการแข่งขันอย่างเป็นแบบแผนสากล
    การแข่งขันฟุตบอลนักเรียนครั้งแรกของประเทศไทยได้เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2444 นี้ ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนชายอายุไม่เกิน 20 ปี ใช้วิธีจัดการแข่งขันแบบน็อกเอาต์ หรือแบบแพ้คัดออก (KNOCKOUT OR ELIMINATIONS) ภายใต้การดำเนินการจัดการแข่งขันของ "กรมศึกษาธิการ" สำหรับทีมชนะเลิศติดต่อกัน 3 ปี จะได้รับโล่รางวัลเป็นกรรมสิทธิ์
  • พ.ศ. 2448 (รศ. 124) เดือนพฤศจิกายน สามัคยาจารย์ สมาคม ได้เกิดขึ้นครั้งแรกเป็นการแข่งขันฟุตบอลของบรรดาครูและสมาชิกครู โดยใช้ชื่อว่า "ฟุตบอลสามัคยาจารย์"
  • พ.ศ. 2450-2452 (รศ. 126-128) ผู้ตัดสินฟุตบอลชาวอังชื่อ "มร.อี.เอส.สมิธ" อดีตนักฟุตบอลอาชีพได้มาทำการตัดสินในประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี ทำให้คนไทยโดยเฉพาะครู-อาจารย์ และผู้สนใจได้เรียนรู้กติกาและสิ่งใหม่ๆเพิ่มขึ้นมาก
  • พ.ศ. 2451 (รศ. 127) มีการจัดการแข่งขัน "เตะฟุตบอลไกล" ครั้งแรก
  • พ.ศ. 2452 (รศ. 128) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้ทรงสวรรคต เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2452 นับเป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของผู้สนับสนุนฟุตบอลไทยในยุคนั้น ซึ่งต่อมาในปีนี้ กรมศึกษาธิการก็ได้ประกาศใช้วิธีการแข่งขัน "แบบพบกันหมด" (ROUND ROBIN) แทนวิธีจัดการแข่งขันแบบแพ้คัดออกสำหรับคะแนนที่ใช้นับเป็นแบบของแคนาดา (CANADIAN SYSTEM) คือ ชนะ 2 คะแนน เสมอ 1คะแนน แพ้ 0 คะแนน และยังคงใช้อยู่จนถึงปัจจุบัน
    ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงมีความสนพระทัยกีฬาฟุตบอลเป็นอย่างยิ่งถึงกับทรงกีฬาฟุตบอลเอง และทรงตั้งทีมฟุตบอลส่วนพระองค์เองชื่อทีม "เสือป่า" และได้เสด็จพระราช ดำเนินประทับทอดพระเนตรการแข่งขันฟุตบอลเป็นพระราชกิจวัตรเสมอมา โดยเฉพาะมวยไทยพระองค์ทรงเคย ปลอมพระองค์เป็นสามัญชนขึ้นต่อยมวยไทยจนได้ฉายาว่า "พระเจ้าเสือป่า" พระองค์ท่านทรงพระปรีชาสามารถมาก จนเป็นที่ยกย่องของพสกนิกรทั่วไปจนตราบเท่าทุกวันนี้
    จากพระราชกิจวัตรของพระองค์รัชกาลที่ 6 ทางด้านฟุตบอลนับได้ว่าเป็นยุคทองของไทยอย่างแท้จริงอีกทั้งยังมีการเผยแพร่ข่าวสาร หนังสือพิมพ์ และบทความต่างๆทางด้านฟุตบอลดังกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลต่อไปนี้
  • พ.ศ. 2457 (รศ. 133) พระยาโอวาทวรกิจ" (แหมผลพันชิน) หรือนามปากกา "ครูทอง" ได้เขียนบทความกีฬา "เรื่องจรรยาของผู้เล่นและผู้ดูฟุตบอล" และ "คุณพระวรเวทย์ พิสิฐ" (วรเวทย์ ศิวะศริยานนท์) ได้เขียนบทความกีฬา "เรื่องการเล่นฟุตบอล" และ "พระยาพาณิชศาสตร์วิธาน" (อู๋ พรรธนะแพทย์) ได้เขียนบทความกีฬาที่ประทับใจชาวไทยอย่างยิ่ง "เรื่องอย่าสำหรับนักเลงฟุตบอล"
  • พ.ศ. 2458 (รศ. 134) ประชาชนชาวไทยสนใจกีฬาฟุตบอลอย่างกว้างขวาง เนื่องจาก กรมศึกษาธิการได้พัฒนาวิธีการเล่น วิธีจัดการแข่งขัน การตัดสิน กติกาฟุตบอลที่สากลยอมรับ ตลอดจนระเบียบการแข่งขันที่รัดกุมยิ่งขึ้น และผู้ใหญ่ในวงการให้ความสนใจอย่างแท้จริงนับตั้งแต่พระองค์รัชกาลที่ 6 เองลงมาถึงพระบรมวงศานุวงศ์จนถึงสามัญชน และชาวต่างชาติ และในปี พ.ศ. 2458 จึงได้มีการแข่งขันฟุตบอลประเภทสโมสรครั้งแรกเป็นการชิงถ้วยพระราชทานและเรียกชื่อการแข่งขันฟุตบอลประเภทนี้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลถ้วยทองของหลวง" การแข่งขันฟุตบอลสโมสรนี้เป็นการแข่งขันระหว่าง ทหาร-ตำรวจ-เสือป่า ซึ่งผู้เล่นจะต้องมีอายุเกินกว่าระดับทีมนักเรียน นับว่าเป็นการเพิ่มประเภทการแข่งขันฟุตบอล
    ราชกรีฑาสโมสร หรือสปอร์ตคลับ นับได้ว่าเป็นสโมสรแรกของไทยและเป็นศูนย์รวมของชาวต่างประเทศในกรุงเทพฯ ซึ่งยังอยู่ในปัจจุบัน และสโมสรสปอร์ตคลับเป็นศูนย์กลางของกีฬาหลายประเภท โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลได้มีผู้เล่นระดับชาติจากประเทศอังกฤษมาเข้าร่วมทีมอยู่หลายคน เช่น มร.เอ.พี.โคลปี. อาจารย์โรงเรียนราชวิทยาลัย นับได้ว่าเป็นทีมฟุตบอลที่ดี มีความพร้อมมากทั้งทางด้านผู้เล่น งบประมาณและสนามแข่งขันมาตรฐาน จึงต้องเป็นเจ้าภาพให้ทีมต่างๆของไทยเรามาเยือนอยู่เสมอ ทำให้วงการฟุตบอลไทยในยุคนั้นได้พัฒนายิ่งขึ้น และรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัยโดยเสด็จมาเป็นองค์ประธานพระราชทานรางวัลเป็นพระราชกิจวัตร ทำให้ประชาชนเรียกการแข่งขันสมัยนั้นว่า "ฟุตบอลหน้าพระที่นั่ง" และระหว่างพักครึ่งเวลามีการแสดง "พวกฟุตบอลตลกหลวง" นับเป็นพิธีชื่นชอบของปวงชนชาวไทยสมัยนั้นเป็นอย่างยิ่ง และการแข่งขันฟุตบอลสโมสรครั้งแรกนี้ มีทีมสมัครเข้าร่วมแข่งขันจำนวน 12 ทีม ใช้เวลาในการแข่งขัน 46 วัน (11 ก.ย.-27 ต.ค. 2458) จำนวน 29 แมตช์ ณ สนามเสือป่า ถนนหน้าพระลาน สวนดุสิต กรุงเทพมหานคร หรือสนามหน้ากองอำนวนการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติปัจจุบันพระองค์รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการแข่งขันนับว่าฟุตบอลไทยมีระบบในการบริหารมานานนับถึง 72 ปีแล้ว
    ความเจริญก้าวหน้าของฟุตบอลภายในประเทศได้แผ่ขยายกว้างขวางทั่วประเทศไปสู่สโมสรกีฬา-ต่างจังหวัดหรือชนบทอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปภายใต้การสนับสนุนของรัชกาลที่ 6 และพระองค์ท่านทรงเล็งเห็นกาลไกลว่าควรที่ตะตั้งศูนย์กลางหรือสมาคมอย่างมีระบบแบบแผนที่ดี โดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและทรงมีพระบรมราชโองการก่อตั้ง "สโมสรคณะฟุตบอลสยาม" ขึ้นมาโดยพระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเล่นฟุตบอลเอง

    รัชกาลที่ 6 ได้ทรงมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามดังนี้คือ
    1. เพื่อให้ผู้เล่นฟุตบอลมีพลานามัยที่สมบูรณ์
    2. เพื่อก่อให้เกิดความสามัคคี
    3. เพื่อก่อให้เกิดไหวพริบ และเป็นกีฬาที่ประหยัดดี
    4. เพื่อเป็นการศึกษากลยุทธ์ในการรุกและการรับเช่นเดียวกับกองทัพทหารหาญ

    จากวัตถุประสงค์ดังกล่าว นับเป็นสิ่งที่ผลักดันให้สมาคมฟุตบอลแห่งสยามดำเนินกิจการเจริญก้าวหน้ามาจนตราบถึงทุกวันนี้ ซึ่งมีกำลังอยู่ระหว่างปรับปรุงข้อมูลดังนี้
  • พ.ศ. 2458 (ร.ศ. 134) การแข่งขันระหว่างชาติครั้งแรกของประเทศไทย เมื่อวันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 ณ สนามราชกรีฑาสโมสร (สนามม้าปทุมวันปัจจุบัน) ระหว่าง "ทีมชาติสยาม" กับ "ทีมราชกรีฑาสโมสร" ต่อหน้าพระที่นั่ง และมี "มร.ดักลาส โรเบิร์ตสัน" เป็นผู้ตัดสิน ซึ่งผลการแข่งขันปรากฏว่าทีมชาติสยามชนะทีมราชกรีฑาสโมสร 2-1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0) และครั้งที่ 2 เมื่อวันเสาร์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2458 เป็นการแข่งขันระหว่างชาตินัดที่ 2 แบบเหย้าเยือนต่า หน้าพระที่นั่ง ณ สนามเสือป่าสวนดุสิตและผลปรากฏว่า ทีมชาติสยามเสมอกับทีมราชกรีฑา สโมสร หรือทีมรวมต่างชาติ 1-1 ประตู (ครึ่งแรก 0-0)

ประวัติฟุตบอลในประเทศไทย

 

กีฬาฟุตบอลในประเทศไทย ได้มีการเล่นตั้งแต่สมัย"พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว" รัชกาลที่5 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เนื่องจากสมัยรัชกาลที่5 พระองค์ทรงส่งพระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าพระหลานยาเธอ และข้าราชบริพารไปศึกษาวิชาการต่างๆ ที่ประเทศอังกฤษและผู้นำกีฬาฟุตบอลกลับมายังประเทศไทยเป็นคนแรกคือ "เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา)" หรือที่ประชาชนเรียกกันว่า "ครูเทพ" ซึ่งท่านได้แต่งเพลงกราวกีฬาที่พร้อมไปด้วยเรื่องน้ำใจนักกีฬาอย่างแท้จริง ผู้เขียนมีความเชื่อว่าเพลงกราวกีฬาที่ครูเทพแต่งไว้นี้จะต้องเป็น "เพลงอมตะ" และจะต้องคงอยู่คู่ฟ้าไทย เมื่อปี พ.ศ.2454-2458 ท่านได้ดำรงตำแหน่งเป็นเสนาบดีกระทรวงธรรมการครั้งแรก เมื่อท่านได้นำฟุตบอลเข้าไปเล่นในประเทศไทย ได้มีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่างๆ มากมายโดยหลายคนกล่าวว่า ฟุตบอลเป็นกีฬาที่ไม่เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศร้อน เหมาะสมกับประเทศที่มีอากาศหนาวมากกว่า และเป็นเกมที่ทำให้เกิดอันตรายต่อผู้เล่นและผู้ชมได้ง่าย ซึ่งข้อวิจารณ์ดังกล่าวถ้ามองอย่างผิวเผินอาจคล้อยตามได้ แต่ภายหลังข้อกล่าวหาก็ได้ค่อยหมดไปจนกระทั่งกลายเป็นกีฬายอดนิยมที่สุดของประชาชนชาวไทย และชาวโลกทั่วทุกมุมโลกในปัจจุบัน ซึ่งมีวิวัฒนาการดังต่อไปนี้
     พ.ศ.2440 รัชกาลที่5 ได้เสด็จนิวัตรพระนคร กีฬาฟุตบอลได้รับความสนใจจากบรรดาข้าราชการ ครู อาจารย์ตลอดจนชาวอังกฤษในประเทศไทย และผู้สนใจชาวไทยจำนวนมากขึ้นเป็นลำดับกอปรกับครูเทพท่านได้เพียรพยายามปลูกฝังการเล่นฟุตบอลอย่างจริงจังและแพร่หลายมากในโอกาศต่อมา
     พ.ศ.2443 การแข่งขันฟุตบอลเป็นทางการครั้งแรกของประเทศไทย ได้เกิดขึ้นเมื่อวันเสาร์ที่2 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2443 ณ สนามหลวง ซึ่งเป็นสถานที่ออกกำลังกายและประกอบงานพิธีต่างๆ การแข่งขันฟุตบอลคู่ประวัติศาตร์ของไทยระหว่าง "ชุดบางกอก" กับ "ชุดกลมศึกษาธิการ" จากกระทรวงธรรมการ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า "การแข่งขันฟุตบอลตามข้อบังคับของแอสโซซิเอชั่น"เพราะสมัยก่อนเรียกว่า "แอสโซซิเอชั่นฟุตบอล" (Associations Football)สมัยปัจจุบันเรียกว่า "การแข่งขันฟุตบอลของสมาคม" หรือ "ฟุตบอลสมาคม" ผลการแข่งขันฟุตบอลนัดพิเศษปรากฏว่า 2:2 ต่อมาครูเทพได้วางแผนการจัดการแข่งขันฟุตบอลนักเรียนอย่างเป็นทางการพร้อมแปลงกติกาแบบสากลมาใช้ในการแข่งขันฟุตบอลในครั้งนี้ด้วย
     พ.ศ.2444 หนังสือวิทยาจารย์ เล่มที่1ตอนที่7 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2444 ได้ตีพิมพ์เผยแพร่เรื่องกติกาการแข่งขันฟุตบอลสากลและการแข่งขันอย่างเป็นสากล
     การแข่งขันฟุตบอลนักเรียนครั้งแรกของประเทศไทย ได้เกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2444นี้ ผู้เข้าแข่งขันต้องเป็นนักเรียนชาย อายุไม่เกิน20ปี ใช้วิธีการแข่งขันแบบน็อกเอาต์ หรือแบบแพ้คัดออก (Knockout or Eliminations)ภายใต้การดำเนินงานของ "กรมศึกษาธิการ" สำหรับทีมชนะเลิศติดต่อกัน3ปี จะได้รับโล่รางวัลเป็นกรรมสิทธิ์
พ.ศ.2448 เดือนพฤสจิกายน สามัคยาจารย์สมาคมได็เกิดขึ้นครั้งแรกเป็นการแข่งขันฟุตบอลขอบรรดาครูและสมาชิกครู โดยใช้ชื่อว่า "ฟุตบอลสามัคยาจารย์"
     พ.ศ.2450-2452 ผู้ตัดสินชาวอังกฤษชื่อ "มร.อี.เอส.สมิธ" อดีนักฟุตบอลอาชีพ ได้มาทำการตัดสินในประเทศไทยเป็นเวลา2ปี ทำให้คนไทยโดยเฉพาะครู อาจารย์ และผู้สนใจ ได้เรียนรู้กติกาและสิ่งใหม่ๆเพิ่มขึ้นมาก
     พ.ศ.2451 มีการจัดการแข่งขัน "เตะฟุตบอลไกล" ครั้งแรก
     พ.ศ.2452 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่5 เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 23 ตุลาคม พ.ศ.2452 นับเป็นการสูญเสียครั้งยิ่งใหญ่ของผู้สนับสนุนฟุตบอลไทยในยุคนั้น ซึ่งต่อมาในปีนี้ กรมศึกษาธิการก็ได้ประกาศใช้วิธีการแข่งขัน "แบบพบกันหมด" (Round Robin)แทนวิธีการแข่งขันแบบแพ้คัดออก สำหรับคะแนนที่ใช้นับเป็นแบบของแคนนาดา (Candian System)คือ ชนะ2คะแนน เสมอ1คะแนน แพ้0คะแนน และยังคงใช้อยู้จนถึงปัจจุบัน
     พ.ศ.2453 กรมศึกษาธิการได้ปรับปรุงกติกาฟุตบอลให้ทันสมัยยิ่งขึ้น
     พ.ศ.2454 กรมการศึกษาธิการได้จัดการแข่งขันฟุตบอล"รุ่นเล็ก"สำหรับนักเรียนอายุไม่เกิน 18 ปี ชิงโล่เงิน"มร. ดับบลิว. ยี. จอห์นสัน" ชาวอังกฤษ วึ่งเป็นที่ปรึกษากระทรวงธรรมการในขณะนั้น และชุดฟุตบอลใดได้ชนะเลิศติดต่อกัน 3 ปีจะได้รับโล่เป็นกรรมสิทธิ์
     ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 พระองค์ทรงมีความสนพระทัยกีฬาฟุตบอลเป็นอย่างยิ่ง ถึงกับทรงกีฬาฟุตบอลเอง และทรงตั้งทีมฟุตบอลส่วนพระองค์ ชื่อทีม "เสือป่า" และได้เสด็จพระราชดำเนินประทับทอดพระเนตรการแข่งขันฟุตบอลเป็นพระราชกิจวัตรเสมอมา โดยเฉพาะมวยไทย พระองค์ทรงเคยปลอมพระองค์เป็นสามัญชนขึ้นต่อยมวยไทยจนได้ฉายาว่า "พระเจ้าเสือป่า" พระองค์ท่านทรงพระปรีชาสามารถมากจนเป็นที่ยกย่องของพสกนิกรทั่ไทยจนตราบทุกวันนี้
จากพระราชกิจวัตรของพระองค์รัชกาลที่ 6 ทางด้านฟุตบอล นับได้ว่าเป็นยุคทองของไทยอย่างแท้จริง อีกทั้งยังมีการเผยแพร่ข้าวสาร หนังสือพิมพ์ และบทข่าวต่างๆทางด้านฟุตบอลดังรายละเอียดต่อไปนี้
     พ.ศ.2457 "พระยาโอวาทวรกิจ" (แหม ผลพันชิน) หรือนามปากา "ครูทอง" ได้เขียนบทนำข่าวกีฬา "เรื่องจรรยาของผู้เล่นฟุตบบอล" และ "คุณพระวรเวทย์พิสิฐ" (วรเวทย์ ศิวะศริยานนท์) ได้เขียนบทความกีฬา "เรื่องการเล่นฟุตบอล" และ "พระยาพาณิชศาสตร์วิธาน" (อู่ พรรธนแพทย์) ได้เขียนบทความกีฬาที่ประทับใจชาวไทยอย่างยิ่ง "เรื่องอย่าสำหรับนักเลงฟุตบอล"
     พ.ศ.2458 ประชาชนชาวไทยสนใจฟุตบอลอย่างกว้างขวาง เนื่องจากกรมศึกษาธิการได้พัฒนาวิธีการเล่น วิธีการจัดแข่งขัน การตัดสิน กติกาฟุตบอลที่สากลยอมรับตลอดจนระเบียบการแข่งขันที่รัดกุมยิ่งขึ้น และผู้ใหญ่ในวงการให้ความสนใจอย่างแท้จริง นับตั้งแต่ องค์รัชกาลที่ 6 ลงมาถึงพระบรมวงศานุวงศ์ จนถึงสามัญชนและชาวต่างชาติ และในปี พ.ศ. 2458จึงได้มีการแข่งขันฟุตบอลประเภทสโมสรครั้งแรก เป็นการชิงถ้วยพระราชทานและเรียกชื่อการแข่งขันฟุตบอลประเภทนี้ว่า "การแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยทองของหลวง" การแข่งขันฟุตบอลสโมสรนี้เป็นการแข่งขันระหว่าง "ทหาร-ตำรวจ-เสือป่า" ซึงผู้เล่นจะต้องมมีอายุเกินเกินกว่าระดับทีมนักเรียนนับว่าเป็นการเพิ่มประเภทการแข่งขันฟุตบอล
     ราชกรีฑาสโมสร หรือสปอร์ตคลับ นับได้ว่าเป็นสโมสรแรกของประเทศไทยเป็นศูนย์รวมของชาวต่างประเทศในกรุงเทพฯ ซึ่งยังอยู่ในปัจจุบัน และศูนย์รวมสปอร์ตคลับเป็นศูนย์กลางของกีฬาหลายประเภท โดยเฉพาะกีฬาฟุตบอลได้มีผู้เล่นระดับชาติจากประเทศอังกฤษเข้าร่วมทีมอยู่หลยคน อาทิเช่น มร.เอ.พลี.โคลบี. อาจารย์โรงรียนราชวิทยาลัย นับว่าเป็นทีมที่ดีมีความพร้อมมากทั้งทางด้านผู้เล่นงบประมาฌ และสนามแข่งขันมาตรฐาน จึงต้องเป็นเจ้าภาพให้ทีมต่างๆของไทยเรามาเยือนอยู่เสมอทำให้วงการฟุตบอลไทยในยุคนั้นได้พัฒนายิ่งขึ้น และรัชกาลที่ 6 ทรงสนพระทัยโดย
เสด็จมาเป็นองค์ประธานพระราชทานรางวัลเป็นพระราชกิจวัตร ทำให้ประชาชนเรียกการแข่งขันสมัยนั้นว่า "ฟุตบอลหน้าพระที่นั่ง" และระหว่างพักครึ่งเวลามีการแสดง "พวกฟุตบอลตลกหลวง" นับเป็นที่ชื่นชอบของปวงชนชาวไทยสมัยนั้นเป็นอย่างยิ่ง และการแข่งขันฟุตบอลสโมสรครั้งแรกนี้ มีทีมสมัครเข้าร่วมแข่งขัน 12 ทีม ใช้เวลาในการแข่งขัน 46 วัน (11 กันยายน-27 ตุลาคม 2458) จำนวน 29 แมตช์ ณ สนามเสือป่า ถนนหน้าพระลานสวนดุสิต กรุงเทพมหานคร หรือสนามหน้ากองอำนวยการรักษาการปลอดภัยแห่งชาติปัจจุบัน พระองค์รัชกาลที่ 6 ได้ทรงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งขณะกรรมการดำเนินการแข่งขัน นับว่าฟุตบอลไทยมีระบบในการบริหารมานานถึง 77 ปีแล้ว
     ความเจริญก้าวหน้าของฟุตบอลภายในประเทศ ได้แผ่ขยายกว้างขว้างทั่วประเทศไปสู่สโมสรกีฬาต่างจังหวัด หรือชนบทอย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นที่นิยมกันทั่วไปภายใต้การสนับสนุนของรัชกาลที่ 6 และพระองค์ท่านทรงเล็งเห็นการณ์ไกลว่าควรที่จะตั้งศูนย์กลางหรือสมาคมอย่างมีระบบแผนที่ดีโดยมีคณะกรรมการบริหารสมาคมและทรงมีพระบรมราชโองการก่อตั้ง "สโมสรคณะฟุตบอลสยาม" ขึ้นมาโดยพระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ทรงเล่นฟุตบอลเอง
     รัชกาลที่ 6 ได้ทรงมีวัตถุประสงค์ของการก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งสยามดังนี้ คือ
1. เพื่อให้ผู้เล่นฟุตบอลมีพลานามัยที่สมบูรณ์
2. เพื่อให้เกิดความสามัคคี
3. เพื่อให้เกิดไหวพริบ และเป็นนักกีฬาที่ประหยัดดี
4. เพื่อเป็นการศึกษากลยุทธในการรุกและรับเช่นเดียวกับกองทัพทหาร

กติกาฟุตบอล

กติกาฟุตบอลกติกา
ข้อ 1สนามแข่งขัน(The Field of Play)ขนาดสนาม (Dimensions)สนามแข่งขันต้องเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยความยาวของเส้นข้าง (Touch Line) ต้องยาวกว่าความยาวของเส้นประตู (goal Line)ความยาว ต่ำสุด 90 เมตร (100 หลา) สูงสุด 120 เมตร (130 หลา)ความกว้าง ต่ำสุด 45 เมตร (50 หลา)สูงสุด 90 เมตร (100 หลา) การแข่งขันระหว่างชาติ ความยาว ต่ำสุด 100 เมตร (110 หลา)สูงสุด 110 เมตร (120 หลา)ความกว้าง ต่ำสุด 64 เมตร (70 หลา)สูงสุด 75 เมตร (80 หลา)การทำเครื่องหมายต่าง ๆ ของสนาม ( Field Markings)สนามแข่งขันทำด้วยเส้นต่าง ๆ ซึ่งเส้นต่าง ๆ เหล่านี้จะเป็นพื้นที่ของเขตนั้น ๆ ด้วย เส้นที่มีความกว่า 2 เส้น เรียกว่า "เส้นข้าง" เส้นที่สั้นกว่า 2 เส้น เรียกว่า "เส้นประตู" ทุกเส้นต้องมีความกว้างไม่เกิน 12 เซนติเมตร (5 นิ้ว)สนามแข่งขันจะต้องแบ่งออกเป็นสองส่วนเท่ากัน โดยเส้นแบ่งเขตแดน(Halfway Line) จะทำจุดกึ่งกลางสนาม (Center mark) ไว้ และทำวงกลมรัศมี 9.15 เมตร (10 หลา) ล้อมรอบจุดนี้ไว้เขตประตู (The Goal Area)เขตประตูจะทำไว้ตรงท้ายของสนามแต่ละด้าน ดังนี้จากขอบเสาประตูด้านในแต่ละข้างวัดออกไปตามแนวเส้นประตุแต่ละด้านละ 5.5 เมตร (6 หลา) และทำเส้นเป็นแนวตั้งฉากกับเส้นประตูเข้าไปในสนามแข่งขันเป็นระยะทาง 5.5 เมตร ( 6 หลา) เส้นทั้งสองเส้นนี้จะเชื่อมต่อด้วยเส้นหนึ่งที่เขียนขนานกับเส้นประตู พื้นที่ภายในเขตเส้นเหล่านี้และเส้นประตูล้อมรอบ เรียกว่า "เขตประตู"เขตโทษ (Penalty Area)เขตโทษจะทำไว้ส่วนท้ายของสนามแต่ละด้าน ดังนี้จากขอบเสาประตูด้านในแต่ละข้างวัดออกไปตามแนวเส้นประตูด้านละ 16.5 เมตร เส้นทั้งสองเส้นนี้จะเชื่อมต่อด้วยเส้นหนึ่งที่ขนานกับเส้นประตู พื้นที่ภายในเขตเส้นเหล่านี้และเส้นประตูล้อมรอบเรียกว่า "เขตโทษ"ภายในเขตโทษแต่ละด้านทำจุดโทษ (Penaity Mark) ไว้ โดยห่างจากจุดกึ่งกลาวงระหว่างเสาประตูเป็นระยะทาง 11 เมตร (12 หลา) และทำส่วนโค้งเขัยนไว้ด้านนอกเขตโทษโดยรัสมีห่างจากจุดโทษแต่ละด้านเป็นระยะทาง 9.15 เมตร (10 หลา)เสาธง (Flagposts)เสาธงต้องสูงไม่น้อยกว่า 1.5 เมตร (5 ฟุต) ต้องไม่มียอดแหลมและจะปักไว้ที่มุมสนามแต่ละมุมอาจปักเสาธงไว้ที่ปลายเส้นแบ้งแดนแต่ละด้านก็ได้ แต่ต้องห่างจากเส้นข้างไม่น้อยกว่า 1 เมตร (1 หลา )ส่วนดค้งมุมสนาม(The Corner Arc)จากเสาธงมุมสนามแต่ละด้านให้เขียน 1/4 ของส่วนโค้งไว้ด้านในสนามแข่งขันโดยมีรัศมี 1 เมตร (1 หลา)ประตู(Goals)ประตูต้องตั้งอยู่บนกึ่งกลางเส้นประตูแต่ละด้าน ประกอบด้วยเสา 2 ต้นที่ปักตั้งฉากไว้และวัดห่างจากธงมุมสนามเป็นระยะห่างเท่ากัน และมีคานเชื่อมต่อในแนวนอน ระยะทางระหว่างเสาประตู 7.32 เมตร (8 หลา) และระยะทางจากส่วนใต้คานถึงพื้นสนาม 2.44 เมตร (8 ฟุต)เสาและคานประตูทั้งสองด้าน ต้องมีขนาดเท่ากัน และมีความกว้างและความหนาไม่เกิน 12 เซนติเมตร (5 นิ้ว) เส้นประตูต้องมีความกว้างเท่ากับความกว้างของเสาและคานประตู อาจติดตาข่ายไว้ที่ประตูและพื้นสนามด้านหลังประตูโดยต้องแน่ใจว่าติดต้องไว้อย่างเรียนร้อยเหมาะสม และต้องไม่รบกวนการเล่นของผู้รักษาประตูเสาและคานประตูต้องเป็นสีขาวเท่านั้นความปลอดภัย(Safety)ประตูต้องตั้งยึดติดไว้กับพื้นสนามเพื่อความปลอดภัย อาจใช้ประตูที่เคลื่อนย้ายได้ถ้าทำตามความต้องการนี้จนพอใจแล้วมติสภาฟุตบอลระหว่างประเทศ1. ถ้าคานประตูหลุด หรือหัก จะต้องหยุดการเล่นจนกว่าจะมีการซ่อมให้เสร็จหรือเปลี่นใม่ก่อนถ้าไม่สามารถทำการซ่อมแซมได้จะต้องยุติการแข่งขัน ไม่อนุญาตให้ใช้เชือกขึงแทนคานประตู การเริ่มเล่นใหม่จะเริ่มโดยการปล่อยลูกบอล ณ จุดที่ลูกบอลอยู่ในขณะที่การเล่นได้หยุดลง2. เสาและคานประตูต้องทำด้วยไม้ ดลหะ หรือวัสดุที่ได้รับการรับรองแล้ว รูปทรงอาจเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้า จัตุรัส ทรงกลม หรือรูปไข่ และต้องไม่เป็นอันตรายต่อผู้เล่น3. ไม่อนุญาตให้โฆษณาสินค้าทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นของจริงหรือตัวแทนบนสนามแข้งขันและอุปกรณ์ของสนาม ผรวมทั้งที่ตาข่ายประตูและพื้นที่ภายในนั้น) นับตั้งแต่ทีมได้เข้าไปสู่สนามแข่งขันอีก จรกระทั้งหมดเวลาของการแข่งขันต้องไม่มีการโฆษณาบนอุปกณ์ทุกชนิดที่แสดงให้เห็นบนขอบประตู ตาข่าย เสาธง หรือบนพื้นธง ต้องไม่มีอุปกรณ์ต่าง ๆ จากภายนอกที่มาติดตั้งไว้กับสิ่งต่าง ๆ ดังกล่าวด้วย (กล้อง ไมโครโฟน ฯลฯ)4. ห้ามมีการโฆษณาใด ๆ บนพื้นที่ภายในรัศมี 1 เมตรจากเส้นขอบของสนามฟุตบอล และไม่อนุญาตให้ติดป้ายโฆษณาบริเวณระหว่างเส้นประตูและบริเวณหลังตาข่ายของประตูฟุตบอล5. ห้ามจำลองสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายใด ๆ ไม่ว่าจะเป้นของจริงหรือตัวแทนสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ สหพันธ์สมาคมแห่งชาติ สโมสร หรือองค์กรอื่น ๆบนสนามแข่งขัน และอุปกรณ์ของสนาม (รวมทั้งที่ตาข่ายประตูและพื้นที่ภายในนั้น)6. อาจทำเส้นตั้งฉากกับเส้นประตูไว้ด้านนอกสนามแข่งขันโดยวัดห่างจากส่วนโค้งมุมสนามมาเป็นระยะทาง 9.15 เมตร (10 หลา) เพื่อให้แน่ใจว่าในขณะมีการเตะจากมุมได้มีการปฏิบัติให้ถูกต้องตามระยะนี้กติกาข้อ 2ลูกบอล (the Ball)คุณลักษณะและหน่วยการวัด (Qualities and Measurements)ลูกบอลต้อง1. เป็นทรงกลม2. ทำจากหนังหรือวัสดุอื่น ๆ ที่เหมาะสม3. เส้นรอบวงไม่เกินกว่า 70 เซนติเมตร (28 นิ้ว) ไม่น้อยกว่า 68 เซนติเมตร (27 นิ้ว)4. ในขณะที่เริ่มทำการแข้งขันน้ำหนักไม่เกิน 450 กรัม (16 ออนซ์) และไม่ต่ำกว่า 410 กรัม (14 ออนซ์)5. ความดันลมเมื่อวัดที่ระดับน้ำทะเลเท่ากับ 0.6 - 1. (600 -1100 กรัม/ตร.ซฒ. หรือ 8.5 -15.6 ปอนด์/ตร.นิ้ว)การเปลี่ยนลูกบอลที่ชำรุด()ถ้าลูกบอลแตก หรือชำรุดระหว่างการแข่งขัน ต้อง1. หยุดการเล่น2. เริ่มเล่นใหม่โดยทำการเปลี่ยนใหม่ ณ จุดที่ลูกบอลแรกชำรุด ถ้าลูกบอลแตกหรือชำรุดในขณะที่ไม่ได้อยู่ในการเล่น เช่น เมื่อเตะเริ่มเล้น เตะจากประตู เตะจากมุม เตะโทษ ณ จุดโทษ หรือการทุ่ม ต้องเริ่มจากเล่นใหม่ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ในขณะแข่งขันจะเปลี่ยนลูกบอลไม่ได้นอกจากจะได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสินมติสภาฟุตบอลระหว่างประเทศ1. ในการแข่งขันจะอนุญาตให้ใช้ลูกบอลที่เป็นไปตามความต้องการทางเทคนิคอย่างน้อยขั้นต่ำสุดตามที่ได้ระบุไว้ในกติกาข้อ 1 เท่านั้น ในการแข่งขันต่าง ๆ ของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ และการแข่งขันภายใต้การดูแลรับผิดชอบของสหพันธ์ฟุตบอลต่าง ๆ การยอมรับเกี่ยวกับลูกบอลที่ใช้ในการแข่งขันจะต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขของลูกบอลข้อใดข้อหนึ่งใน 3 ข้อที่ระบุไว้ คือ - มีสัญลักษณ์ที่ได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ(FIFA Approved) - มีสัญลักษณ์ที่ได้รับการตรวจสอบจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ(FIFA Inspected) - มีเครื่องหมายอ้างอิงว่าเป็นลูกบอลมาตราฐานใช้ได้กับการแข่งขันระหว่างชาติ(International Matchball Atandard)แต่ละประเภทที่ระบุไว้บนลูกบอลเป็นสิ่งแสดงให้เห็นว่าได้ผ่านการทดสอบความเหมาะสม และพบว่าได้ทำตามความต้องการทางเทคนิคระบุไว้ตามความแตกต่างกันแต่ละประการแล้ว และเป็นไปตามรายละเอียดต่าง ๆ ในขั้นต่ำสุดตามที่ระบุไว้ในกติกาข้อ 2 รายการต่าง ๆ ที่ต้องการระบุเพิ่มเตมในแต่ละประเภทต้องได้รับการรับรองจากสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติก่อน สภาบันที่ควบคุมการทดสอบเป็นไปตามความเห็นชอบของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ2. ในการแข่งขั้นต่าง ๆ ของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติและการแข่งขันภายใต้ความดูแลรับผิดชอบขิงสหพันธ์ฟุตบอลต่าง ๆ และสมาคมแห่งชาติไม่อนุญาตให้ทีการโฆษณาสินค้าใด ๆ บนลูกบอลยกเว้นตราสัญลักษณ์ของการแข่งขัน เครื่องหมายการค้าของคณะกรรมการและผู้มีอำนาจในการจัดการแข่งขัน ระเบียบการแข่งขันอาจจะจำกัดขนาดและจำนวนของแต่ละเครื่องหมายก็ได้ กติกาข้อ 3จำนวนผู้เล่น(The Number of Players)ผู้เล่น (Players)การแข่งขัน เล่นโดยผู้เล่น 2 ทีม แต่ละทีมประกอบด้วยผู้เล่นไม่เกิน 11 คน และต้องมีคนหนึ่งเป็นผู้รักษาประตู จะไม่อนุญาตให้ทีมทำการแข่งขัน ถ้าผู้เล่นทีมใดน้อยกว่า 7 คนการแข่งขันที่เป็นทางการ(Official Competition)ในการแข่งขันที่เป้นทางการภายใต้การดูแลรับผิดชอบของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ สหพันธืหรือสมาคมแห่งชาตอ การเปลี่ยนผู่เล่นทำได้มากที่สุด 3 คน ระเบียบการแข่งขันจะต้องระบุจำนวนผุ้เล่นสำรองที่ส่งชื่อไว้ว่าส่งได้จำนวนเท่าใด จาก 3 คน ถึงมากที่สุด 7 คนการแข่งขันอื่น ๆ (Other Matches)ในการแข่งขันอื่น ๆ การเปลี่ยนตัวผู้เล่นจะต้องกำหนดไว้ภายใต้เงื่อนไข คือ1. ทีมที่เข้าร่วมแข่งขันตกลงเห้นชอบในจำนวนการเปลี่ยนตัวมากที่สุดนั้น2. ผู้ตัดสินได้รับการแจ้งก่อนการแข่งขันถ้าผู้ตัดสินไม่ได้รับแจ้ง หรือ ไม่ได้รับความเห็นชอบตามข้อตกลงก่อนการแข่งขันจะเริ่มขึ้น จะอนุญาติให้เปลี่ยนตัวไม่เกิน 3 คนการแข่งขันทุกรายการ (All Matches)ในการแข่งขันทุกรายการ บัญชีรายชื่อผู้เล่นสำรองต้องส่งให้ผู้ตัดสินก่อนที่การแข่งขั้นจะเริ่มต้นขึ้น ผู้เล่นสำรองที่ไม่มีชื่อในบัญชีรายชื่อจะไมาสามารถเข้าร่วมแข่งขันครั้งนั้นได้ขั้นตอนการเปลี่ยนตัว (Substitution Procdure)เงื่อนไขต่าง ๆ ต่อไปนี้จะใช้ปฏิบัติเมื่อมีการเปลี่ยนตัวผู้เล่นสำรองเข้าเล่นแทน1. ก่อนที่จะทำการเปลี่ยนตัวต้องแจ้งให้ผู้ตัดสินรับทราบก่อน2. ผู้เล่นสำรองจะเข้านามแข่งขันได้ที่บริเวณเส้นแบ่งแดนเท่านั้นและอยู่ในระหว่างการเล่นได้หยุดลง3. การเปลี่ยนตัวจะสมบูรณ์เมื่อผู้เล่นสำรองได้เข้าไปในสนามแข่งขันแล้ว4. จากช่วงเวลานั้นผู้เล่นสำรองที่เปลี่ยนตัวจะกลายเป็นผู้เล่นทันทีและผู้เล่นที่ถูกเปลี่ยนจะสิ้นสุดการเป็นผู้เล่น5. ผู้เล่นที่ถูกเปลี่ยนตัวออกมาแล้วจะไม่สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมใด ๆ ในการแข่งขันได้อีก6. การเปลี่ยนตัวทุกครั้งอยู่ในอำนาจและการตัดสินใจของผู้ตัดสินว่าจะอนุญาตให้เข้าเล่นได้หรือไม่การเปลี่ยนหน้าที่กับผู้รักษาประตู(Changing the Golkeeper)ผู้เล่นคนอื่น ๆ อาจเปลี่ยนหน้าที่กับผู้รักษาประตูได้ตามเงื่อนไข ดังนี้1. แจ้งให้ผู้ตัดสินทราบก่อนการเปลี่ยนหน้าที่กัน2. ทำการเปลี่ยนหน้ากันในขณะการเล่นได้หยุดลงแล้วการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringements/Sanctions)ถ้าผู้เล่นสำรองเข้าไปในสนามแข่งขันโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน1. หยุดการเล่น2. คาดโทษและให้ใบเหลืองผู้เล่นสำรองนั้น และให้ออกจากสนามแข่นขันก่อน3. การเริ่มเล่นใหม่โยการปล่อยลูกลูกบอล ณ จุดที่การเล่นได้หยุดลงถ้าผู้เล่นเปลี่ยนหน้าที่กับผู้รักษาประตูโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสินก่อนทำการเปลี่ยนนั้น1. ให้การเล่นดำเนินต่อไป2. ผู้เล่นที่เกี่ยวข้องต้องถูกคาดโทษและให้ใบเหลืองเมื่อลูกบอลได้อยู่นอกการเล่นแล้วสำหรับการกระทำผิดอื่น ๆ ของกติกาข้อนี้ ผู้เล่นที่เกี่ยวข้องต้องถูกคาดโทษและให้ใบเหลืองการเริ่มเล่นใหม่ (Restart of Play)ถ้าการเล่นได้หยุดลงโดยผู้ตัดสินเพื่อทำการคาดโทษ การจะเริ่มเล่นใหม่โยให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ณ จุดที่ลูกบอลอยู่ในขณะการเล่นได้หยุดลงการให้ผู้เล่นและผู้เล่นสำรองออกจาการแข่งขัน(Players And Substitutes Sent Off)ผู้เล่นคนใดถูกให้ออกก่อนการเตะเริ่มการแข่งขัน (Kick-Off) สามารถเปลี่ยนผู้เล่นสำรองที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อเข้าเล่นแทนได้ผู้เล่นสำรองที่มีชื่ออยู่ในบัญชีรายชื่อถูกให้ออกทั้งก่อนการเตะเริ่มการแข่งขัน หรือภายหลังที่มีการแข่งขันได้เริ่มขึ้นแล้วจะเปลี่ยนตัวแทนกันไม่ได้มติสภาฟุตบอลระหว่างประเทศ1. ตามเงื่อนไขที่ระบุไว้ในกิกาข้อ 3 จำนวนผู้เล่นต่ำสุดในทีมหนึ่งจะมีเท่าไรขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของสมาคมฟุบอลแห่งชาติ แต่อย่างไรก็ตาม สภาฟุตบอลระหว่างประเทศเห็นว่า การแข่งขันไม่ควรจะดำเนินต่อไปถ้าทีมใดทีมหนึ่งมีผู้เล่นน้อยกว่า 7 คน2. อนุญาตให้เจ้าหน้าที่ทีม 1 คน สามารถสอยยุทธวิธีกรเล่นให้กับผู้เล่นได้ในระหว่างที่การแข่งขันกำลังดำเนินอยู่และต้องกลับไปยังตำแหน่งเดิมของตนทันที ภายหลังทารสอนเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่ทีมทุกคนต้องอยู่ภายในเขตเทคนิคแต่ละเขตทีกำหนดไว้ และพวกเขาต้องรับผิดชอบเกี่ยวกับการปฏิบัติตนให้เหมาะสมในพื้นที่นั้นๆ ด้วยกติกาข้อ 4อุปกรณ์การแข่งขันของผู้เล่น(The Players’ Equipment)ความปลอดภัย (Safety)ผู้เล่นต้องไม่ใช้อุปกรณ์การเล่น หรือสวมใส่สิ่งตาง ๆ ที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อตนเองและผู้เล่นอื่น (รวมทั้งเครื่องประดับต่าง ๆ ทุกชนิด)อุปกรณ์เบื้องต้น (Basic Equipment)อุปกรณ์ของผู้เล่นที่เป็นข้องบังคับเบื้องต้น คือ1. เสื้อยืดหรือเสื้อเชิ้ต (Jersey or Shirt)2. กางเกงขาสั้น (Shorts) ถ้าใส่กางเกงปรับอุณหภูมิ (Thermal) ไว้ภายใน สีกางเกงชั้นนอก3. ถุงเท้ายาว (Stocking)4. สนับแข้ง (Shinguards)5. รองเท้า (Footwear)สนับแข้ง (Shinguards)1. ต้องอยู่ภายใต้ถุงเท้ายาว2. ต้องทำจากวัสดุที่เหมาะสม (ยาง พลาสติก หรือวัสดุที่คล้าย ๆ กัน)3. มีความเหมาะสมที่จะใช้ในการป้องกันได้อย่างดีผู้รักษาประตู (Goalkeepers)ผู้รักษาประตูแต่ละทีมต้องสวมชุดทีมีสีแตกต่างจากผู้เล่นคนอื่น ๆ รวมทั้งผู้ตัดสิน และผู้ช่วยผู้ตัดสินการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringement/Sanctions)การกระทำผิดใด ๆ ของกติกาข้อนี้1. ไม่จำเป็นต้องหยุดการเล่น2. ผู้เล่นที่กระทำผิดจะได้รับคำแนะนำจากผู้ตัดสินให้ออกจากสนามแข่งขันไปเพื่อทำการแก้ไขอุปกรณ์ของตนเอง3. ผู้เล่นจะออกจากสนามแข่งขันเมื่อลูกบอลได้อยู่ในการเล่นจนกระทั่งเขาได้ทำการแก้ไขอุปกรณ์ให้ถูกต้องแล้ว4. ผู้เล่นคนใดคนหนึ่งถูกให้ออกจากสนามแข่งขันไปเพื่อแก้อุปกรณ์ของตนเองให้ถูกต้องจะกลับเข้ามาเล่นใหม่ไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน5. ผู้ตัดสินทำการตรวจสอบดูว่า อุปกรณ์ของผู้เล่นนั้นแก้ไขถูกต้องก่อนที่จะอนุญาตให้เขากลับเข้ามาในสนามแข่งขันใหม่6. จะอนุญาตให้ผู้เล่นกลับเข้ามาในสนามแข่งขันใหม่ได้ต่อเมื่อลูกบอลอยู่นอกการเล่นเท่านั้นผู้เล่นที่ถูกให้ออกจากสนามแข่งขันเนื่องจากการกระทำผิดกติกาข้อนี้และได้เข้ามาสมทบ (หรือกลับเข้ามาสมทบ) ในสนามโดยได้รับอนุญาตจากผุ้ตัดสินก่อนจะต้องถูกคาดโทษและให้ใบเหลืองการเริ่มเล่นใหม่ (Restar of Play)ถ้าการเล่นได้หยุดลงโดยผู้ตัดสินเพื่อการคาดโทษ การเล่นจะเริ่มเล่นใหม่โดยผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ณ จุดที่ลูกบอลอยู่ในขณะที่ผู้ตัดสินสั่งหยุดการเล่นมติสภาฟุตบอลระหว่างประเทศ- ผู้เล่นต้องไม่เปิดเผยแสดงให้เห็นเสื้อด้านในซึ่งมีสโลแกนหรือการโฆษณา- ผู้เล่นคนใดถอดเสื้อเพื่อเปิดให้เห็นสโลแกนหรือการโฆษณาจะต้องถูกลงโทษโดยคณะกรรมการจัดการแข่งขัน- เสื้อต้องมีแขนเสื้อกติกาข้อ 5ผู้ตัดสิน(The Referee)อำนาจและหน้าที่ (The Authority of the Referee)การแข่งขันแต่ละครั้งต้องควบคุมโดยผู้ตัดสินซึ่งเขาจะต้องเป็นผู้ได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งมีอำนาจหน้าที่อย่างเต็มที่ในการปฏิบัติให้เป็นไปตามกติกาการแข่งขันอำนาจ และหน้าที่ (Poers and Duties)ผู้ตัดสินต้อง1. ปฏิบัติตามกติกาข้อต่าง ๆ2. ควบคุมการแข่งขันโดยมีผู้ช่วยผู้ตัดสิน กรรมการผู้ตัดสินคนที่ 4 คอยให้ความร่วมมือช่วยเหลือตามความเหมาะสม3. แน่ใจว่าลูกบอลทุกลูกทีใช้ในการแข่งขันถูกต้องตามข้อกำหนดของกติกาข้อ 24. แน่ใจว่าอุปกรณ์ของผู้เล่นถูกต้องตามข้อกำหนดของกติกาข้อ 45. ทำหน้าที่รักษาเวลาการแข่งขัน และเขียนรายงานการแข่งขัน6. พิจารณาการสั่งหยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วคราว หรือยุติการแข่งขัน (Suspends or Terminate the Match) ทุกกรณีของการกระทำผิดกติกาการแข่งขัน7. พิจารณาการสั่งหยุดการเล่น หยุดการเล่นชั่วครา หรือยุติการแข่งขัน เนื่องจากมีสิ่งรบกวนจากภายนอกทุกชนิดทำการรบกวนการแข่งขัน8. สั่งหยุดการเล่นถ้าดุลยพินิจของเขาเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บหนักและแน่ใจว่าเคลื่อนย้าออกจากสนามแข่งขันไปแล้ว ผู้เล่นที่บาดเจ็บนั้นจะกลับเข้าไปในสนามแข่งได้อีกเอภายหลังการเริ่มเล่นใหม่ได้ริมเล่นไปแล้ว9. อนุญาตให้การเล่นดำเนินต่อไปจนกว่าลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นถ้าเห็นว่าผู้เล่นบาดเจ็บเพียงเล็กน้อย10. แน่ใจว่าผู้เล่นที่มีเลือดไหลออกจากบาดแผลได้ออกจากสนามแข่นขันแล้ว และผู้เล่นนั้นจะกลับไปเล่นใหม่ได้เมื่อได้รับสัญญาณจากผู้ตัดสิน ซึ่งต้องพึงพอใจแล้วว่าเลือดที่ไหลออกมานั้นได้หยุดแล้ว11. อนุญาตให้การเล่นดำเนินต่อไปเมื่อทีมที่ถูกกระทำผิดจะเกิดประโยชน์จากการได้เปรียบ () และถ้าการคาดคะเนในการให้ได้เปรียบนั้นไม่เป็นตามที่คาดไว้ในขณะนั้น ก้จะลงโทษตามความผิดที่เกิดขึ้นแต่แรกนั้น12. ลงโทษความผิดที่ร้ายแรงกว่าในกรณีที่ผู้เล่นทำผิดมากกว่า 1 อย่าง ภายในเวลาเดียวกัน13. ควบคุมระเบียบวินัยโดยแสดงการต่อต้านต่อผู้เล่นที่กระทำผิดต้องได้รับการคาดโทษ() และการให้ออกจาการแข่งขัน () เขาไม่ได้ถูกบังคับว่าต้องกระทำในทันทีทันใด แต่ต้องทำทันทีลูกบอลอยู่นอกการเล่นแล้ว14. ทำหน้าที่แสดงการต่อต้านเจ้าหน้าที่ทีมที่ขาดความรับผิดชอบในการควบคุมการประพฤติปฏิบัติตนเองที่ดี และเขาอาจพิจารณาให้อกจากสนามแข่งขันและบริเวณแวดล้อมในทันมี15. ปฏิบัติตามการช่วยเหลือของผู้ช่วยผู้ตัดสินตามเหตุการณ์ที่ตนเองมองไม่เห็น 16. แน่ในว่าไม่มีบุคคลอื่น ๆ ที่ไม่ได้รับอนุญาตเข้าไปในสนามแข่งขัน17. ให้ทำการเริ่มเล่นได้หยุดลง18. เขียนรายงานการแข่งขันเสนอต่อผู้ที่มีอำนาจหน้าที่ที่ได้แต่งตั้งไว้ ซึ่งรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับการควบคุมระเบียบทุกอย่างที่กระทำต่อผู้เล่นและ /หรือเจ้าหน้าที่ทีมและเหตุการณ์ณ์อื่น ๆ ทักกรณีที่เกิดขึ้นก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขัน หรือภายหลังการแข่งขันการพิจารณาตัดสินใจของผู้ตัดสิน ()การพิจารณาตัดสินในของผู้ตัดสินที่เกี่ยวข้องกับสภาพความเป็นจริงที่เกิดขึ้นในการแข่งขันถือเป็นข้อยุติผู้ตัดสินอาจกลับคำตัดสินได้ถ้าพิจารณาแล้วว่าสิ่งที่ทำไปนั้นไม่ถูกต้องหรือเขาได้พิจารณาตามความช่วยเหลือของผู้ช่วยผู้ตัดสิน โดยมีเงื่อนไขว่า การเริ่มเล่นใหม่นั้นยังไม่ได้เริ่มขึ้นมติสภาฟุตบอลระหว่างประเทศ1. ผู้ตัดสิน (หรือปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยผู้ตัดสินหรือกรรมการผู้ตัดสินคนที่ 4 ) จะไม่มีการรับผิดชอบสำหรับ- การบาดเจ็บทุกอย่างที่ผู้เล่น เจ้าหน้าที่ หรือผู้ชมได้รับ- ความเสียหายต่อทรัพย์สินทุกชนิด- ทุก ๆ อย่างที่ได้รับความเสียหายโดยบุคคล สโมสร บริษัทสมาคม หรือที่มีลักษณะคล้าย ๆ กัน จะเป็นโดยตรงหรือเนื่องจากการตัดสินในขอบเขตของกติกาการแข่งขันหรือการพิจารณาดำเนินการช่วยเหลือตามปกติ ทั้งในการเล่นและการควบคุมการแข่งขัน รวมทั้งสิ่งต่าง ๆ ต่อไปนี้ก. ตัดสินใจว่าสภาพสนามแข่งขันหรือบริเวณสภาพแวดล้อมหรือสภาพภูมิอากาศเช่นนั้นจะอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้แข่งขันหรือเลื่อนการแข่งขันออกไปข. ตัดสินใจละทิ้งการแข่งขันไม่ว่าด้วยเหตุผลใด ๆ ก็ตามค. ตัดสินใจเกี่ยวกับสภาพสิ่งของที่ติดตั้งหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ถูกใช้ระหว่างการแข่งขัน รวมถึงเสาประตู คานประตู เสาธงมุมสนาม และลูกบอลง. ตัดสินใจหยุดหรือไม่ให้หยุดการแข่งเนื่องจากผู้เข้ามากวน หรือปัญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับผู้ชมจ. ตัดสินใจหยุดหรือไม่ให้หยุดการแข่งขันเพื่นำผู้เล่นที่บาดเจ็บออกจากการแข่งขันเพื่อทำการปฐมพยาบาลฉ. ตัดสินใจเกี่ยวกับการร้องขอหรือเรียกร้องว่าให้นำผู้เล่นที่บาดเจ็บออกจากการแข่งขันเพื่อทำการปฐมพยาบาลช. ตัดสินใจอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ผู้เล่นสวมใส่เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ หรืออุปกรณ์บางชนิดซ. ตัดสินใจ (ในสิ่งต่อไปนี้อาจเป็นหน้าที่รับผิดชอบของเขาด้วย) อนุญาตหรือไม่อนุญาตให้บุคคลอื่นใด (รวมทั้งเจ้าหน้าที่ทีมหรือเจ้าหน้าที่สนาม เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ช่างภาพ หรือผู้บรรยาย สื่อมวลชนต่าง ๆ ) อยู่ในบริเวณใกล้เคียงสนามแข่งขันฌ. ตัดสินใจอื่น ๆ ทุกอย่าง ซึ่งเขาอาจนำไปใช้ให้สอดคล้องกับกติกาการแข่งขันหรือสอดคล้องกับหน้าที่ของเขาตามเงื่อนไขของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ สหพันธ์ สมาคม หรือกฎระเบียบของการแข่งขันหรือกฎข้อบังคับภายใต้การแข่งขันที่กำลังเล่นอยู่2. ในการแข่งขันแบบทัวนาเมนท์ หรือการแข่งขันอื่น ๆ ที่กำหนดกรรมการผู้ตัดสินคนที่ 4 ไว้ บทบาทและหน้าที่ของเขาต้องสอดคล้องกับข้อแนะนำที่กำหนดไว้โดยคณะกรรมการสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ3. ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการแข่งขันจะหมายรวมถึงการเป็นประตู และผลของการแข่งขันด้วยกติกาข้อ 6ผู้ช่วยผู้ตัดสิน(The Assistant Referees)หน้าที่ (Duties)ผู้ช่วยผู้ตัดสิน 2 คน ต้องเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่โดยเป็นผู้ชี้แนะ แสดงให้ผู้ตัดสินทราบสิ่งต่าง ๆ ส่วนการตัดสินในเป็นหน้าที่ของผู้ตัดสิน1. เมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านออกจากสนามแข่งขัน2. ฝ่ายใดได้สิทธิ์ในการเตะจากมุม เตะจากประตู หรือทุ่ม3. เมื่อผู้เล่นถูกลงโทษฐาน การอยู่ในตำแหน่งล้ำหน้า4. เมื่อมีการต้องการเปลี่ยนตัวผู้เล่น5. เมื่อมีการกระทำผิดหรือมีเหตุการณ์อื่น ๆ เกิดขึ้นโดยที่ผู้ตัดสินไม่เห็น6. เมื่อผู้เล่นกระทำความผิดกติกาเกิดขึ้นใกล้ผู้ช่วยผู้ตัดสินมากกว่าผู้ตัดสิน (รวมถึงเหตุการณ์กระทำผิดกติกาภายในเขตโทษ)7. เมื่อมีการเตะโทษ ณ จุดโทษ ผู้ช่วยผู้ตัดสินต้องดูว่าผู้รักษาประตู เคลื่อนออกมาข้างนอกก่อนที่ลูกบอลจะถูกเตะหรือไม่ และต้องดูลูกบอลเข้าประตูหรือไม่การช่วยเหลือ (Assistant)ผู้ช่วยผู้ตัดสินมีหน้าที่ช่วยเหลือผู้ตัดสินในการควบคุมการแข่งขันให้เป็นไปตามกติกาการแข่งขัน และในกรณีพิเศษผู้ช่วยผู้ตัดสินอาจเข้าไปในสนามได้เพื่อช่วยควบคุมระยะ 9.15 เมตร ถ้าผู้ช่วยผู้ตัดสินเข้าไปเกี่ยวข้องหับหารปฏิบัติหน้าที่ของผู้ตัดสินเกินสมควร หรือประพฤติตนไม่เหมาะสมผู้ตัดสินสามารถปลดเขาออกจากหน้าที่ และเขียนรายงานเสนอต่อผู้มีอำนาจหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งไว้กติกาข้อ 7ระยะเวลาของการแข่งขัน(The Duration of the Match)ช่วงเวลาของการเล่น (Periods of Play)การแข่งขันแบ่งออกเป็น 2 ครึ่ง ครึ่งละ 45 นาทีเท่ากัน ยกเว้นได้มีการพิจารณาตกลงร่วมกันทั้ง 2 ฝ่าย ระหว่างผู้ตัดสินกับทีมทีมที่เข้าร่วมแข่งขันทั้ง 2 ทีม การตกลงต่าง ๆ ต้องทำการแก้ไขก่อนเริ่มทำการแข่งขันและต้องทำตามระเบียบของการแข่งขันด้วย (ตัวอย่างเช่น การลดเวลาการแข่งขันแต่ละครึ่งเหลือ 40 นาที เนื่องจากแสงสว่างไม่เพียงพอ)พักครึ่งเวลา (Half-Time Interval)1. ผู้ล่นทุกคนมีสิทธิ์ได้พักครึ่งเวลา2. การพักครึ่งเวลาต้องไม่เกิน 15 นาที3. ระเบียบการแข่งขันต้องระบุไว้ชัดเจนว่าเวลาที่ใช้ในการพักครึ่งเวลาเท่าใด4. เวลาในการพักครึ่งเวลาอาจเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ แต่ต้องขึ้นอยู่กับความเห็นชอบของผู้ตัดสินเท่านั้นการชดเชยเวลาที่เสียไป (Allowance for Time Lost)การชดเชยเวลาสามารถทำได้ทั้ง 2 ครึ่งของการแข่งขันสำหรับเวลาที่สูญเสียไปจาก1. การเปลี่ยนตัวผู้เล่น2. การตรวจสอบผู้เล่นที่บาดเจ็บ3. การนำผู้เล่นที่บาดเจ็บออกจากสนามแข่งขันเพื่อทำการปฐมพยาบาล4. การถ่วงเวลาการแข่งขัน5. สาเหตุอื่น ๆที่เกิดขึ้นทุกกรณีการชดเชยสำหรับเวลาที่สูญเสียไปจะอยู่ในดุลยพินิจของผู้ตัดสินการเตะ ณ จุดโทษ (Penalty Kick)อนุญาตให้เพิ่มเวลาเพื่อการเตะลูกโทษ ณ จุดโทษ ในช่วงเวลาสุดท้ายของแต่ละครี่ง หรือในช่วงเวลาสุดท้ายของการต่อเวลาพิเศษการต่อเวลาพิเศษ (Extra Time)ระเบียบของการแข่งขันอาจระบุช่วงเวลาของการเล่นไว้เป็น 2 ครึ่งเท่ากัน โดยปฏิบัติตามเงื่อนไขของกติกาข้อ 8 การยกเลิกการแข่งขัน (Abandoned Match)การยกเลิกการแข่งขัน จะต้องทำการแข่งขันใหม่ ยกเว้นระเบียบการแข่งขันจะได้ระบุไว้เป็นอย่างอื่นกติกาข้อ 8การเริ่มการแข่งขันและการเริ่มเล่นใหม่(The Start and Restart of Play)การเตรียมการเบื้อต้น (Perliminaries)ทำการเสี่ยงเหรียญ ทีมที่ชนะการเสี่ยงจะเป็นฝ่ายเลือกประตูที่จะทำการรุกในครึ่งเวลาแรกของการแข่งขัน อีกทีมจะเป็นฝ่ายได้เตะเริ่มเล่น (Kick-off) เพื่อเริ่มต้นการแข่งขัน ทีมที่ชนะการเสี่ยงจะทำการเตะเริ่มเล่นเพื่อเริ่มต้นการแข่งขันในครึ่งเวลาหลังของการแข่งขัน ทั้งสองทีมจะเปลี่ยนแดนกันในครึ่งเวลาหลังของการแข่งขัน และทำการรุกประตูตรงข้ามการเตะเริ่มเล่น (Kick-off)การเตะเริ่มเล่นเพื่อเริ่มต้นการแข่งขันหรือเพื่อเริ่มเล่นใหม่1. เมื่อเริ่มต้นการแข่งขัน2. ภายหลังจากมีการทำประตูได้3. เมื่อเริ่มต้นการแข่งขันครึ่งเวลาหลัง4. เมื่อเริ่มต้นการแข่งขันแต่ละครึ่งของการต่อเวลาพิเศษทีนำมาใช้สามารถทำประตูได้โดยตรงจากการเตะเริ่มเล่นขั้นตอนในการดำเนินการ (Procedure)1. ผู้เล่นทุกคนต้องอยู่ในแดนตนเอง2. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามกับทีมที่กำลังเตะเริ่มเล่นต้องอยู่ห่างจากลูกบอล 9.15 เมตร (10 หลา) จนกว่าลูกบอลจะอยู่ในการเล่น3. ลูกบอลต้องวางนิ่งอยู่บนจุดกึ่งกลางสนาม4. ผู้ตัดสินให้สัญญาณ5. ลูกบอลอยู่ในการเล่นเมื่อถูกเตะและเคลื่อนที่ไปข้างหน้าแล้ว6. ผู้เตะไม่สามารถเล่นลูกบอลเป็นครั้งที่ 2 ได้จนกว่าจะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อนภายหลังที่ทีมหนึ่งทำประตูได้ อีกทีมหนึ่งจะเป็นฝ่ายได้เตะเริ่มเล่นการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringement/Sanction)ถ้าผู้เตะได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สองก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน จะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ณ จุดที่การกระทำผิดเกิดขึ้น สำหรับการกระทำผิดอื่น ๆ ทุกกรณีจากการเตะเริ่มเล่นใหม่การปล่อยลูกบอล (Dropped Ball)การปล่อยลูกบอลเป็นวิธีหนึ่งของการเริ่มเล่นใหม่ของการแข่งขันภายหลังจากการเล่นได้หยุดลงชั่วคราว ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับกรณีที่ไม่มีระบุไว้ในกติกาการแข่งขันและในขณะที่ลูกบอลยังอยู่ในการเล่นขั้นตอนในการดำเนินการ (Procedure)ผู้ตัดสินปล่อยลูกบอล ณ จุดที่ลุกบอลอยู่ในขณะที่สั่งหยุดการเล่นการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringements/Sanction)ต้องทำการปล่อยลูกบอลใหม่ถ้า1. ลูกบอลถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนหนึ่งคนใดก่อนที่จะสัมผัสพื้นสนาม2. ลูกบอลออกจากสนามแข่งขันไปภายหลังจากสัมผัสพื้นสนามแล้วแต่ไม่ถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนหนึ่งคนใดก่อนสภาพการณ์พิเศษ (Special Circmatances)1. การให้ทีมฝ่ายรับได้เตะโทษโดยอ้อมภายในเขตประตูของตนเองจะทำการเตะจากที่ใดก็ได้ภายในเขตประตู2. การให้ทีมฝ่ายรุกได้เตะทาโดยอ้อมภายในเขตประตูของฝ่ายตรงข้าม จะทำการเตะจากเส้นเขตประตู ณ จุดที่ใกล้กับการกระทำผิดเกิดขึ้นมากที่สุด3. การปล่อยลูกบอลเพื่อทำการเริ่มเล่นใหม่ภายหลังการเล่นได้หยุดลงชั่วคราวภายในเขตประตุ จะต้องทำบนเส้นเขตประตูที่ขนานกับเส้นประตุ ณ จุดที่ใกล้ลูกบอลมากที่สุดในขณะที่การเล่นหยุดลงกติกาข้อ 9ลูกบอลอยู่ในและนอกการเล่น(The Ball In and Out of Play)ลูกบอลอยู่นอกการเล่น (Ball Out of Play)ลูกบอลจะอยู่นอกการเล่นเมื่อ1. ลูกบอลได้ผ่านเส้นประตูหรือเส้นข้างไม่ว่าจะเป็นบนพื้นดินหรือในอากาศออกไปทั้งลูก2. ผู้ตัดสินสั่งหยุดการเล่นลูกบอลอยู่ในการเล่น (Ball In Play)ลูกบอลอยู่ในการเล่นตลอดเวลารวมทั้งในขณะที่1. กระดอนจากเสาประตู คานประตู หรือธงมุมสนาม และเข้ามาในสนามแข่งขันกติกาข้อ 10การนับประตู(The Method of Scoring)ถือว่าทำประตูได้เมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูระหว่างเสาประตูและภายใต้คานประตู ภายใต้เงื่อนไขว่าต้องไม่มีการกระทำผิดกติกาการแข่งขันเกิดขึ้นก่อนที่ทีมนั้นจะทำประตูได้ทีมชนะ (Winning Team)ทีมที่ทำประตูได้มากกว่าในระหว่างการแข่งขันจะเป็นฝ่ายชนะ ถ้าทั้งสองทีมทำประตูได้เท่ากันหรือทำประตูกันไม่ได้ การแข่งขันครั้งนั้นจะถือว่า “เสมอกัน” (DRAW)ระเบียบการแข่งขัน (Competition Rule)สำหรับการแข่งขันที่จบลงโดยผลเสมอกัน ระเบียบการแข่งขันอาจจะกำหนดรายละเอียดซึ่งเกี่ยวข้องกับการต่อเวลาพิเศษเอาไว้ หรือการดำเนินการอื่น ๆ ที่สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติรับรอง เพื่อหาทีมที่ชนะในการแข่งขันครั้งนั้นกติกาข้อ 11การล้ำหน้า(Offside)จะไม่ถือว่าเป็นการกระทำผิดถ้าเพียงแต่อยู่ในตำแหน่งล้ำหน้าเท่านั้นผู้เล่นจะอยู่ในตำแหน่งล้ำหน้าถ้าเขาอยู่ใกล้เส้นประตูของฝ่ายตรงข้ามมากกว่าลูกบอลและผู้เล่นคนที่ 2จากท้ายสุดของฝ่ายตรงข้ามผู้เล่นจะไม่อยู่ในตำแหน่งล้ำหน้าถ้า1. เขาอยู่ในแดนตนเองของสนามแข่งขัน2. เขาอยู่ในแนวเดียวกันกับผู้เล่นคนที่ 2 จากท้ายสุดของฝ่ายตรงข้าม3. เขาอยู่ในแนวเดียวกันกับผู้เล่นทั้ง 2 คน ท้ายสุดของฝ่ายตรงข้ามการกระทำผิด (Offence)ผู้เล่นที่อยู่ในตำแหน่งล้ำหน้าจะถูกลงโทษถ้าในขณะนั้นลูกบอลได้ถูกสัมผัสหรือเล่นโดยผู้เล่นคนหนึ่งในทีมของเขา และผู้ตัดสินพิจารณาเห็นว่าเขาเข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องในการเล่นอย่างชัดแจ้ง (Involved in Active Play) โดย1. เกี่ยวข้องกับการเล่น หรือ2. เกี่ยวข้องผู้เล่นฝ่ายตรงข้าม หรือ3. อาศัยความได้เปรียบจากการอยู่ในตำแหน่งล้ำหน้าขณะนั้นการกระทำที่ไม่ผิด (No Offence)ถ้าผู้เล่นรับลูกบอลโดยตรงจากกรณีต่าง ๆ ต่อไปนี้จะไม่เป็นการล้ำหน้า1. การเตะจากประตู หรือ2. การเตะจากมุม หรือ3. การทุ่มการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringement/Sanction)สำหรับการกระทำผิดทุกอย่างของการล้ำหน้า ผู้ตัดสินจะลงโทษโดยให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจาก ณ ที่ซึ่งมีการกระทำผิดเกิดขึ้นกติกาข้อ 12การเล่นที่ผิดกติกาและเสียมารยาท(Fouls and Misconduct)การทำผิดกติกาและเสียมารยาทจะถูกลงโทษดังนี้โทษโดยตรง (Direct Free Kick)ถ้าผู้เล่นกระทำผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใดใน 6 ข้อต่อไปนี้ โดยผู้ตัดสินพิจารณาเห็นว่าขาดความระมัดระวัง ไม่ไตร่ตรองยั้งคิด หรือ ใช้กำลังแรงเกินกว่าเหตุ จะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรง ได้แก่1. เตะ (Kicks) หรือพยายามเตะคู่ต่อสู้2. ขัดขา (Trips) หรือพยายามขัดขาคู่ต่อสู้3. กระโดด (Jumps) เข้าใส่คู่ต่อสู้4. ชน (Charges) คู่ต่อสู้5. ทำร้าย (Strikes) หรือพยายามทำร้ายคู่ต่อสู้6. ผลัก (Pushes) คู่ต่อสู้ถ้าผู้เล่นกระทำผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใดใน 4 ข้อต่อไปนี้จะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรงเช่นกัน ได้แก่1. สกัดกั้น (Tackles) คู่ต่อสู้เพื่อแย่งการครอบครองลูกบอล แต่ทำการปะทะถูกตัวคู่ต่อสู้ก่อนที่จะสัมผัสลูกบอล2. ดึง (Holds) คู่ต่อสู้3. ถ่มน้ำลาย (Spits) รดใส่คู่ต่อสู้4. เล่นลูกบอลด้วยมือโดยเจตนา (ยกเว้นผู้รักษาประตูที่อยู่ในเขตโทษของตนเอง)การเตะโทษโดยตรง ทำการเตะจากที่ซึ่งมีการกระทำผิดเกิดขึ้นการเตะโทษ ณ จุดโทษ (Penalty Kick)ถ้าผู้เล่นกระทำผิดตามความผิดข้อหนึ่งข้อใดใน 10 ข้อ ภายในเขตโทษของตนเองในขณะที่ลูกบอลอยู่ในการเล่น จะให้เป็นการเตะโทษ ณ จุดโทษโดยไม่ต้องคำนึงถึงตำแหน่งที่ลูกบอลอยู่การเตะโทษโดยอ้อม (Indirect Free Kick)จะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมถ้าผู้รักษาประตูภายในเขตโทษของตนเองกระทำผิดตามความคิดข้อหนึ่งข้อใดใน 4 ข้อต่อไปนี้1. ครอบครองลูกบอลอยู่ในมือเกินกว่า 6 วินาทีก่อนปล่อยออกจากการครอบครอง2. สัมผัสลูกบอลด้วยมืออีกครั้งภายหลังจากการปล่อยลูกบอลจากการครอบครองแล้ว และยังไม่ถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นก่อน3. สัมผัสลูกบอลด้วยมือภายหลังจากผู้เห็นฝ่ายเดียวกันเจตนาเตะส่งมาให้4. สัมผัสลูกบอลด้วยมือภายหลังจากการได้รับมาจากการทุ่มโดยผู้เล่นฝ่ายเดียวกันจะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมเช่นกันถ้าในดุลยพินิจของผู้ตัดสินเห็นว่าผู้เล่นนั้น1. เล่นในลักษณะที่เป็นอันตราย2. ขัดขวางการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าของคู่ต่อสู้3. ป้องกันผู้รักษาประตูไม่ให้ปล่อยลูกบอลออกจากมือ4. กระทำผิดในลักษณะอื่น ๆ ที่ไม่ระบุไว้ในกติกาข้อ 12 ซึ่งต้องทำการหยุดการเล่นเพื่อคาดโทษหรือให้ออกจากการแข่งขันการเตะโทษโดยอ้อมจะกระทำจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น การลงโทษเรื่องระเบียบวินัย (Disciplinary Sanctions)การแสดงใบแดงหรือใบเหลือง สามารถใช้ได้กับผู้เล่นหรือผู้เล่นสำรองหรือผู้เล่นที่ถูกเปลี่ยนตัวเท่านั้นการกระทำผิดที่ต้องได้รับการคาดโทษ (Cautionable Offences)ผู้เล่นจะถูกคาดโทษและแสดงใบเหลืองถ้าเขากระทำผิดตามความผิด 7 ประการต่อไปนี้1. การกระทำผิดเกี่ยวกับการประพฤตินอย่างไม่มีน้ำใจนักกีฬา (Unsporting Behaviour)2. แสดงอาการคัดค้านการตัดสินโดยคำพูดหรือกริยาท่าทางการแสดงออก (Dissent by Word or Action)3. ทำผิดกติกาการแข่งขันบ่อย ๆ (Persistently Infringes the Law of the Game)4. ชะลอการเริ่มเล่น (Delay the Restart of Play)5. เมื่อมีการเตะจากมุมหรือการเตะโทษเพื่อการเริ่มเล่นใหม่ ไม่ถอยไปอยู่ในระยะที่ถูกต้อง6. เข้าไปสมทบหรือกลับเข้าไปสมทบในสนามแข่งขันโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสิน7. เจตนาออกจากสนามแข่งขันไปโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ตัดสินการกระทำผิดที่ต้องให้ออก (Senting-off offences)ผู้เล่นจะถูกให้ออกและแสดงใบแดงถ้าเขากระทำผิดข้อหนึ่งข้อใดใน 7 ข้อต่อไปนี้1. กระทำผิดกติกาอย่างร้ายแรง (Serious Foul play)2. ประพฤติผิดกติกาอย่างแรง (Violent Conduct)3. ถ่มน้ำลายรดใส่ (Spit) คู่ต่อสู้หรือบุคคลอื่น ๆ4. ป้องกันฝ่ายตรงข้ามในการได้ประตูหรือโอกาสในการทำประตูหรือโอกาสในการทำประตูอย่างชัดแจ้ง โดยเจตนาใช้มือเล่นลูกบอล (ไม่รวมถึงผู้รักษาประตูที่อยู่ภายในเขตโทษของตนเอง)5. ป้องกันโอกาสในการทำประตูได้อย่างชัดแจ้งของฝ่ายตรงข้ามที่กำลังเคลื่อนที่มุ่งตรงไปยังหน้าประตุของฝ่ายตนโดยการกระทำผิดกติกาต้องถูกลงโทษโดยตรง หรือเตะโทษ ณ จุดโทษ6. ทำผิดซ้ำซาก (Uese offensive) ใช้วาจาดูหมิ่นเหยียบหยามหรือหยาบคาย (Insulting of Abusive Language) หรอแสดงท่าทางไม่เหมาะสม (Gestures) โดยผู้ตัดสินเป็นผู้พิจารณาระดับของความรุนแรงของการกระทำผิด7. ได้รับการคาดโทษเป็นครั้งที่สองในการแข่งขันครั้งเดียวกัน (Receives a Second Caution in the Same Match)ผู้เล่นที่ถูกให้ออกต้องออกจากพื้นที่บริเวณใกล้เคียงสนามแข่งขันและเขตเทคนิคมติสภาฟุตบอลระหว่างประเทศ1. ผู้เล่นที่กระทำความผิดและถูกคาดโทษ หรือให้ออกจากสนามแข่งขันไม่ว่าจะกระทำในสนามแข่งขันหรือนอกสนามแข่งขัน ทำโดยตรงต่อฝ่ายตรงข้าม เพื่อนร่วมทีม ผู้ตัดสิน ผู้ช่วยผู้ตัดสิน หรือบุคคลอื่น ๆ จะขึ้นอยู่กับระเบียบข้อบังคับทีกำหนดไว้ตามความรับผิดของการกระทำผิดนั้น2. ผู้ตัดสินจะพิจารณาว่า ผู้รักษาประตูได้ครอบครองลูกบอลแล้วโดยการที่เขาใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดของมือหรือแขนของตนเองสัมผัสลูกบอล การครอบครองลูกบอล รวมถึงผู้รักษาประตูเจตนาป้องปัดลูกบอล แต่ไม่รวมถึงในสถานการณ์ ที่ลุกบอลได้กระดอนจากผู้รักษาประตูโดยไม่ได้ตั้งใจภายหลังการป้องกันประตู3. ตามเนื้อหาของกติกาข้อ 12 ผู้เล่นอาจส่งลูกบอลให้กับผู้รักษาประตุของตนเองรับได้ โดยใช้ศีรษะ หน้าอก หรือหน้าขา ฯลฯ แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าผู้ตัดสินพิจารณาเห็นว่าผู้เล่นเจตนาใช้เล่ห์เหลี่ยมเพื่อหลีกเลี่ยงกติกาในขณะที่ลูกบอล อยู่ในการเล่น ผู้เล่นนั้นจะทำผิดกติกาของการแข่งขันที่กำหนดไว้ ฐานประพฤติตนอย่างไม่มีน้ำใจนักกีฬา เขาจะถูกคาดโทษแสดงใบเหลืองและให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อจากที่ซึ่งการกระทำเกิดขึ้นผู้เล่นที่เจตนาใช้เล่ห์เหลี่ยมเพื่อหลีกเลี่ยงกติกาการแข่งขันในขณะที่เขาทำการเตะโทษ จะถูกคาดโทษและแสดงใบเหลืองฐานประพฤติตนอย่างไม่มีน้ำใจนักกีฬา การเตะโทษนั้นจะให้ทำการเตะใหม่ในการกระทำผิดอื่น ๆ จะลงโทษต่อเมื่อพิจารณาว่าผู้รักษาประตูได้ใช้มือสัมผัสลูกบอลหรือไม่ การที่ผู้เล่นคนใดยายามกระทำผิดทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหาและมารยาทในการเล่นของกติกาข้อ 12 ถือว่าเป็นความความผิด4. การสกัดกั้นจากด้านหลังซึ่งทำให้เกิดอันตรายต่อความปลอดภัยของคู่ต่อสู้ต้องถูกลงโทษเหมือนกับการกระทำผิดอย่างแรง5. การกระทำใด ๆ ที่เป็นการเจตนาแกล้งหลอกผู้ตัดสินในทุกพื้นที่ของสนามแข่งขัน จะต้องถูกลงโทษฐานประพฤติตนอย่างไม่มีน้ำใจนักกีฬากติกาข้อ 13การเตะโทษ(Free Kicks)ประเภทของการเตะโทษ (Type of Free Kick)การเตะโทษมีทั้งโทษโดยตรง (Direct) และโทษโดยอ้อม (Indirect) ในการเตะโทษทั้งโดยตรงและโดยอ้อม ในขณะที่เตะลูกบอลต้องตั้งวางนิ่งอยู่กับที่และผู้เตะต้องไม่สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สองก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อนการเตะโทษโดยตรง (Direct Free Kick)1. ถ้าเตะโดยตรง เตะทีเดียวเข้าประตูของฝ่ายตรงข้ามโดยตรงจะถือว่าเป็นประตุ2. ถ้าเตะโทษโดยตรง เตะทีเดียวเข้าประตูของตนเองโดยตรงจะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะจากมุมการเตะโทษโดยอ้อม (Indirect Free Kick)สัญญาณ (Signal)ผู้ตัดสินจะแสดงสัญญาณการเตะโทษโดยอ้อมโดยการยกแขนชูขึ้นเหนือศีรษะ เขายังต้องยกแขนค้างไว้ในตำแหน่งนั้นจนกว่าได้ทำการเตะไปแล้วและลูกบอลถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่น ๆ ก่อน หรือ ได้ออกนอกการเล่นไปแล้วลูกบอลเข้าประตู (Ball Enters the Goal)จะถือว่าเป็นประตูเมื่อลูกบอลได้ถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่น ๆ ก่อนที่จะเข้าประตูเท่านั้น1. ถ้าเตะโทษโดยอ้อมเตะทีเดียวเข้าประตุของฝ่ายตรงข้ามโดยตรงจะให้เป็นการเตะจากประตู2. ถ้าเตะโทษโดยอ้อมเตะทีเดียวเข้าประตูของตรงเองโดยตรงจะให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะจากมุมตำแหน่งการเตะโทษ (Position of Free Kick) การเตะโทษภายในเขตโทษ (Free Kick Inside the Penalty Area)การเตะโทษโดยตรงและโดยอ้อมโดยฝ่ายรับ1. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทุกคนต้องอยู่ห่างจากลูกบอลอย่างน้อย 9.15 ม. (10 หลา)2. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทุกคนต้องอยู่นอกเขตโทษจนกว่าลูกบอลจะอยู่ในการเล่น3. ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นเมื่อถูกเตะทีเดียวออกนอกเขตโทษโดยตรง4. การเตะโทษที่อยู่ภายในเขตประตุจะตั้งเตะจากที่ใดก็ได้ภายในเขตนั้นการเตะโทษโดยอ้อมโดยฝ่ายรุก1. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทุกคนต้องอยู่ห่างจากลุกบอลอย่างน้อย 9.15 ม. (10 หลา) จนกว่าลูกบอลจะอยู่ในการเล่น ยกเว้นพวกเขาจะอยู่ระหว่างเสาประตูบนเส้นประตูของตนเอง2. ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นเมื่อได้ถูกเตะและเคลื่อนที่ไปแล้ว3. การเตะโทษโดยอ้อมที่เกิดขึ้นภายในเขตประตูของฝ่ายรับจะตั้งเตะจากเส้นเขตประตูที่ขนานกับเส้นประตู ณ จุดที่ใกล้กับการกระทำผิดเกิดขึ้นมากที่สุดการเตะโทษนอกเขตโทษ (Fre Kick Outsie the Penalty Area)1. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามทุกคนต้องอยู่ห่างจากลูกบอลอย่างน้อย 9.15 ม. (10 หลา) จนกว่าลูกบอลจะอยู่ในการเล่น2. ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นเมื่อได้ถูกเตะและเคลื่อนที่ไปแล้ว3. การเตะโทษจะทำการเตะจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นการกระทำผิด / การลงโทษ (Infringements/Sanctions)ถ้าในขณะผู้เล่นกำลังเตะโทษ มีผุ้เล่นฝ่ายตรงข้ามมาอยู่ใกล้ลูกบอลมากกว่าระยะที่ถูกขอร้อง ต้องทำการเตะใหม่ถ้าในขณะกำลังเตะโทษโดยผู้เล่นฝ่ายรับ จากภายในเขตโทษของตนเอง ลูกบอลไม่ถูกเตะให้เข้าสู่การเล่นโดนตรง ต้องทำการเตะใหม่การเตะโทษโดยผู้เล่นอื่นที่ไม่ใช่ผู้รักษาประตูถ้าภายหลังจากลูกบอลได้เข้าสู่การเล่นแล้ว ผู้เตะได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่ลูกบอลจะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม การเตะจะกระทำจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นถ้าภายหลังจากลูกบอลได้เข้าสู่การเล่นแล้ว ผู้เตะเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่ลูกบอลจะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่นก่อน1. ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรง การเตะจะกระทำจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น 2. ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษ ณ จุดโทษถ้าการกระทำผิดเกดขึ้นภายในเขตโทษของผู้เตะนั้นการเตะโทษโดยผู้รักษาประตูถ้าภายหลังจากลูกบอลเข้าสู่การเล่นแล้ว ผู้รักษาประตุได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่ลูกบอลจะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่นก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม การเตะจะกระทำจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นถ้าภายหลังจากลูกบอลได้เข้าสู่การเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่ลูกบอลจะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นก่อน1. ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรง ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นภายนอกเขตโทษของผู้รักษาประตูนั้น การเตะจะกระทำจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2. ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นภายในเขตโทษของผู้รักษาประตูนั้น การเตะจะกระทำจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นกติกาข้อ 14การเตะโทษ ณ จุดโทษ(The Penalty Kick)การเตะโทษ ณ จุดโทษ จะลงโทษแก่ทีมที่กระทำผิด 1 ใน 10 ข้อของการกระทำผิดที่เป็นโทษโดยตรงซึ่งกระทำผิดภายในเขตโทษของตนเองและในขณะที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นสามารถทำประตูได้โดยตรงจากการเตะโทษ ณ จุดโทษอนุญาตให้ชดเชยเวลาเพิ่มออกไปเพื่อเพื่อการเตะโทษ ณ จุดโทษในขณะที่หมดเวลาการแข่งขันของแต่ละครึ่งและแต่ละครึ่งของการต่อเวลาพิเศษตำแหน่งของลูกบอลและผู้เล่น(Position of the Ball and the Players)ลูกบอล ตั้งอยู่บนจุดโทษผู้เล่นที่ทำการเตะโทษ ณ จุดโทษ แสดงตนอย่างชัดเจนผู้รักษาประตูฝ่ายรับ ต้องอยู่บนเส้นประตูระหว่างเสาประตู หันหน้าหาผู้เตะจนกว่าจะได้ลูกเตะผู้เล่นตนอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากผู้เตะต้อง1. อยู่ในสนามแข่งขัน2. อยู่นอกเขตโทษ3. อยู่ด้านหลังจุดโทษ4. อยู่ห่างจากจุดโทษ5. อยู่ห่างจากจุดโทษอย่างน้อย 9.15 เมตร (10 หลา)ผู้ตัดสิน1. จะไม่ให้สัญญาณเพื่อการเตะโทษ ณ จุดโทษจนกว่าผู้เล่นจะอยู่ในตำแหน่งจามที่กติการะบุไว้2. ตัดสินใจเมื่อการเตะโทษ ณ จุดโทษได้กระทำโดยสมบูรณ์แล้วขั้นตอนในการดำเนินการ (Procedure)1. ผู้เล่นที่ทำการเตะโทษ ณ จุดโทษต้องเตะลูกบอลไปข้างหน้า2. เขาต้องไม่เล่นลูกบอลเป็นครั้งที่สองก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นอื่นก่อน3. ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นเมื่อถูกเตะและเคลื่อนที่ไปข้างหน้าแล้ว หรือเมื่อมีการชดเชยเวลาเพิ่มออกไปเพื่ออนุญาตให้มีการเตะโทษ ณ จุดโทษหรือให้มีการเตะใหม่เมื่อหมดเวลาในครึ่งแรกหรือหลังแล้วจะให้เป็นประตูถ้าก่อนที่ลูกบอลจะผ่านระหว่างเสาประตูภายใต้คานประตูลูกบอลถูกสัมผัสไม่ว่าจะเป็นอย่างใดอย่างหนึ่งหรือทั้งสองอย่างของขอบประตู และ/หรือคานประตูและหรือผู้รักษาประตูการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringement/Sanctions)ถ้าผู้ตัดสินได้ให้สัญญาณในการเตะ ณ จุดโทษ และก่อนที่ลูกบอลจะอยู่ในการเล่น มีเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งต่อจากนี้เกิดขึ้น คือ 1. ผู้เล่นที่ทำการเตะโทษ ณ จุดโทษ กระทำผิดกติกาการแข่งขัน1.1 ผู้ตัดสินต้องปล่อยให้การเตะดำเนินต่อไป1.2 ถ้าลูกบอลเข้าประตูจะให้ทำการเตะใหม่1.3 ถ้าลูกบอลไม่เข้าประตูจะไม่ให้ทำการเตะใหม่2. ผู้รักษาประตูกระทำผิดกติกาการแข่งขัน2.1 ผู้ตัดสินต้องปล่อยให้การเตะดำเนินการต่อไป2.2 ถ้าลูกบอลเข้าประตูให้เป็นประตู2.3 ถ้าลูกบอลไม่เข้าประตูให้ทำการเตะใหม่3. ผู้เล่นฝ่ายเดียวกับผู้เตะเข้าไปในเขตโทษหรือเคลื่อนที่ไปด้านหน้าจุดโทษหรือห่างจากจุดโทษไม่ถึง 9.15 เมตร (10 หลา)3.1 ผู้ตัดสินต้องปล่อยให้การเตะดำเนินการต่อไป3.2 ถ้าลูกบอลเข้าประตูจะให้ทำการเตะใหม่3.3 ถ้าลูกบอลไม่เข้าประตูจะไม่ให้ทำกาเตะใหม่3.4 ถ้าลูกบอลกระดอนจากผู้รักษาประตู คาน หรือเสาประตูและถูกเล่นโดยผู้เล่นนี้ ผู้ตัดสินต้องสั่งให้หยุดการเล่น และเริ่มเล่นใหม่โดยให้ฝ่ายรับได้เตะโทษโดยอ้อม4. ผู้เล่นฝ่ายเดียวกับผู้รักษาประตูเข้าไปในเขตโทษหรือเคลื่อนที่ไปด้านหน้าจุดโทษ หรือ ห่างจากจุดโทษไม่ถึง 9.15 เมตร (10 หลา)4.1 ผู้ตัดสินต้องปล่อยให้การเตะดำเนินต่อไป4.2 ถ้าลูกบอลเข้าประตูจะให้เป็นประตู4.3 ถ้าลูกบอลไม่เข้าประตูให้ทำการเตะใหม่5. ผู้เล่นทั้งฝ่ายป้องกันและฝ่ายรุกทำผิดกติกาแข่งขันให้ทำการเตะใหม่ ถ้าภายหลังจากเตะโทษ ณ จุดโทษได้ทำการเตะไปแล้ว1. ผู้เตะได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้อื่นก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะทาโดยอ้อม ณ ที่ซึ่งการกระทำผิดได้เกิดขึ้น2. ผู้เตะเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอ่านให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรง ณ ที่ซึ่งกระทำผิดเกิดขึ้น3. ลูกบอลถูกสัมผัสโดยสิ่งรบกวนจากภายนอกขณะที่กำลังเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ให้ทำการเตะใหม่4. ลูกบอลกระดอนจากผู้รักษาประตู คาน หรือเสาประตูเข้ามาในสนามแข่งขัน และจากนั้นถูกสัมผัสลูกบอลกติกาข้อ 15การทุ่ม(The Throw – In)การทุ่มเป็นวิธีการอย่างหนึ่งของการเริ่มเล่นใหม่ ไม่สามารถทำประตูได้โดยตรงจากการทุ่มการให้ทุ่ม1. เมื่อลูกบอลผ่านเส้นข้างนอกไปทั้งลูกไม่ว่าจะเป็นบนพื้นดินหรือในอากาศ2. จากจุดที่ซึ่งลูกบอลตัดผ่านออกเส้นข้างนอก3. ให้ฝ่ายตรงข้ามกับผู้เล่นที่สัมผัสลูกบอละครั้งสุดท้ายขั้นตอนในการดำเนินการ (Procedure)ขณะที่จะทำการปล่อยลูกบอล ผู้ทุ่มต้อง1. หันหน้าเข้าสนามแข่งขัน2. ส่วนเท้าทั้งสองข้างอยู่บนเส้นข้างหรือบนสนามนอกเส้นข้าง3. ใช้มือทั้งสองข้าง4. ปล่อยลูกบอลจากด้านหลังและข้ามผ่านศีรษะผู้ทุ่มไม่สามารถสัมผัสลูกบอลได้อีกจนกว่าจะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่นก่อน ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นทันทีที่เข้าไปในสนามแข่งขันการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringrment/Sanctions)การทุ่มโดยผู้เล่นอื่น ๆที่ไม่ใช่ผู้รักษาประตู1. ถ้าภายหลังที่ลูกบอลไม่อยู่ในการเล่นแล้ว ผู้ทุ่มได้สัมผัสลุกบอลเป็นครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ)ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม จากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้ทุ่มเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสด้วยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน2.1 ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโดยตรงถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นนอกเขตโทษของผู้รักษาประตู การเตะจะเตะจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2.2 ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นภายในเขตโทษของผู้ทุ่ม จะให้เตะโทษ ณ จุดโทษการทุ่มโดยผู้รักษาประตู1. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูสัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้ทุ่มเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน2.1 ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโดยตรงถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นนอกจากเขตโทษของผู้รักษาประตู การเตะจะเตะจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2.2 ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นภายในเขตโทษของผู้ทุ่ม จะให้เตะโทษ ณ จุดโทษการทุ่มโดยผู้รักษาประตู1. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูสัมผัสลูกบอลครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกดขึ้น2. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน2.1 ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโดยตรงถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นนอกเขตของผู้รักษาประตู การเตะจะเตะจากที่ซึ่งกากระทำผิดเกิดขึ้น2.2 ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นในเขตโทษของผู้รักษาประตู การเตะจะเตะจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นถ้าฝ่ายตรงข้ามทำการขัดขวางหรือก่อกวนอย่างไม่เหมาะสมต่อผู้ทุ่มจะต้องถูกคาดโทษและได้รับใบเหลืองฐานประพฤติตนอย่างไม่มีน้ำใจนักกีฬาสำหรับการกระทำผิดอื่น ๆ ของกติกาข้อนี้ ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้ทุ่มกติกาข้อ 16การเตะจากประตู(The Goal Kick)การเตะจากประตูเป็นวิธีการอย่างหนึ่งของการเริ่มเล่นใหม่ สามารถทำประตูได้โดยตรงจากการเตะจากประตู แต่ต้องเป็นประตูฝ่ายตรงข้ามเท่านั้นการให้เตะจากประตูเมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านเส้นประตูออกไป ไม่ว่าเป็นทั้งบนพื้นดินหรือในอากาศโดยผู้เล่นฝ่ายรุกเป็นผู้สัมผัสลูกบอลครั้งสุดท้า และไม่ใช่เป็นการทำประตูตามเงื่อนไขของกติกา ข้อ 10ขั้นตอนในการดำเนินการ (Procedure)1. ลูกบอลจะถูกเตะจากจุดใดก็ได้ภายในเขตโทษประตูโดยผู้เล่นฝ่ายรับ2. ฝ่ายตรงข้ามต้องอยู่ในเขตโทษจนกว่าลูกบอลจะอยู่ในการเล่น3. ผู้เตะต้องไม่เล่นลูกบอลเป็นครั้งที่สองจนกว่าจะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน4. ลูกบอลจะอยู่ในการเล่นเมื่อถูกเตะผ่านออกนอกเขตโทษโดยตรงการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringment/Sanctions)ถ้าลูกบอลไม่ถูกเตะเข้าสู่การเล่นให้ออกนอกเขตโทษโดยตรงต้องทำการเตะใหม่การเตะจากประตูโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ผู้รักษาประตู1. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้เตะได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามไดเตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้เตะเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆก่อน2.1 ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรงจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2.2 ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นภายในเขตโทษของผู้เตะจะให้เตะโทษ ณ จุดโทษการเตะโทษจากประตูโดยผู้รักษาประตู1. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูสัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขั้น2. ถ้าภายหลังจากการที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน2.1 ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโยตรงถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นนอกเขตโทษของผู้รักษาประตู การเตะจะเตะจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2.2 ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นในเขตโทษของผู้รักษาประตู การเตะจะเตะจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นสำหรับการกระทำผิดกติกาอื่น ๆ ของกติกาข้อนี้ให้ทำการเตะใหม่กติกาข้อ 17การเตะจากมุม(The Corner Kick)การเตะจากมุมเป็นวิธีการอย่างหนึ่งของการเริ่มเล่นใหม่ สามารถทำประตูได้โดยตรงจากการเตะจากมุม แต่ต้องทำประตูฝ่ายตรงข้ามเท่านั้นการให้เตะจากมุมเมื่อลูกบอลทั้งลูกได้ผ่านออกเส้นประตูไปทั้งบนพื้นดินหรือในอากาศโดยผู้เล่นฝ่ายรับเป็นผู้สัมผัสลูกคนสุดท้าย และไม่ใช่เป็นการทำประตูตามเงื่อนไขของกติกาข้อ 10ขั้นตอนในการดำเนินการ (Procdure)1. ลูกบอลจะถูกวางไว้ภายในส่วนโค้งที่มุมให้ใกล้กับเสาธงสนามมากที่สุด2. ต้องไม่เคลื่อนย้ายเสาธงมุมสนาม3. ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามต้องอยู่ห่างจากลูกบอลอย่างน้อย 9.15 เมตร (10 หลา) จนกว่าลูกบอลจะอยู่ในการเล่น 4. ลูกบอลจะถูกเตะโดยผู้เล่นคนหนึ่งเป็นฝ่ายรุก5. ลูกบอลอยู่ในการเล่นเมื่อถูกเตะและเคลื่อนที่ไปแล้ว6. ผู้เตะต้องไม่เล่นลูกบอลเป็นครั้งที่สองจนกว่าจะสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อนการกระทำผิด/การลงโทษ (Infringements/Sancctions)การเตะจากมุมโดยผู้เล่นอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ผู้รักษาประตู1. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้เตะได้สัมผัสลูกบอลเป็นครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน ให้ผุ้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้เตะเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน2.1 ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรงจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2.2 ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นภายในเขตโทษของผู้เตะ จะให้เตะโทษ ณ จุดโทษการเตะจากมุมโดยผู้รักษาประตู1. ถ้าภายหลังที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูสัมผัสลูกบอลครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นด้วยมือ) ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้เตะเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน2.1 ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรงจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2.2 ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นภายในประตูเขตโทษของผู้เตะ จะให้เตะ ณ จุดโทษการเตะจากมุมโดยผู้รักษาประตู1. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูสัมผัสลูกบอลครั้งที่สอง (ยกเว้นเล่นลูกบอลด้วยมือ) ก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน ให้ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อมจากที่ซึ่งการกระทำเกิดขึ้น2. ถ้าภายหลังจากที่ลูกบอลอยู่ในการเล่นแล้ว ผู้รักษาประตูเจตนาเล่นลูกบอลด้วยมือก่อนที่จะถูกสัมผัสโดยผู้เล่นคนอื่น ๆ ก่อน2.1 ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยตรง ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นนอกเขตทาของผู้รักษาประตู การเตะจะเตะจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้น2.2 ให้ฝ่ายตรงข้ามได้เตะโทษโดยอ้อม ถ้าการกระทำผิดเกิดขึ้นในเขตโทษของผู้รักษาประตู การเตะจะเตะจากที่ซึ่งการกระทำผิดเกิดขึ้นสำหรับ
การกระทำผิดอื่น ๆ ให้ทำการเตะใหม่